Share to:

 

ขั้วโลกใต้

ภาพขั้วโลกใต้ของนาซาในปีค.ศ.2005.

ขั้วโลกใต้ (อังกฤษ: South Pole) เป็นจุดที่อยู่ทางทิศใต้สุดของโลก

ทางภูมิศาสตร์

ขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic South Pole) เป็นหนึ่งในสองจุดที่แกนหมุนของโลกตั้งฉากกับพื้นผิวโลก (อีกจุดหนึ่งคือ ขั้วโลกเหนือทางภูมิศาสตร์) อยู่ที่ละติจูด 90 องศาใต้ บนแผ่นดินของทวีปแอนตาร์กติกา

มนุษย์คนแรกที่สามารถไปถึงขั้วโลกใต้ทางภูมิศาตร์ได้ คือ นักสำรวจชาวนอร์เวย์ ชื่อ โรอัลด์ อะมุนด์เซน (Roald Amundsen) เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1911

ข้อมูลภูมิอากาศของขั้วโลกใต้

ข้อมูลภูมิอากาศของขั้วโลกใต้
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -14
(7)
-20
(-4)
-26
(-15)
-27
(-17)
-30
(-22)
-31
(-24)
-33
(-27)
-32
(-26)
-29
(-20)
-29
(-20)
-18
(-0)
-13
(9)
−13.6
(7.5)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -25.9
(-14.6)
-38.1
(-36.6)
-50.3
(-58.5)
-54.2
(-65.6)
-53.9
(-65)
-54.4
(-65.9)
-55.9
(-68.6)
-55.6
(-68.1)
-55.1
(-67.2)
-48.4
(-55.1)
-36.9
(-34.4)
-26.5
(-15.7)
−46.3
(−51.3)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -29.4
(-20.9)
-42.7
(-44.9)
-57.0
(-70.6)
-61.2
(-78.2)
-61.7
(-79.1)
-61.2
(-78.2)
-62.8
(-81)
-62.5
(-80.5)
-62.4
(-80.3)
-53.8
(-64.8)
-40.4
(-40.7)
-29.3
(-20.7)
−52.0
(−61.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -41
(-42)
-57
(-71)
-71
(-96)
-75
(-103)
-78
(-108)
-82
(-116)
-80
(-112)
-77
(-107)
-79
(-110)
-71
(-96)
-55
(-67)
-38
(-36)
−82.8
(−117)
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 558 480 217 0 0 0 0 0 60 434 600 589 2,938
แหล่งที่มา 1: [1]
แหล่งที่มา 2: Cool Antarctica[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "South Pole, Antarctica". WeatherBase. สืบค้นเมื่อ 2009-10-07.
  2. "Antarctica Climate data and graphs". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2010-04-10.

แหล่งข้อมูลอื่น

90°S 0°W / 90°S -0°E / -90; -0

Kembali kehalaman sebelumnya