ท้องมาน |
---|
ชื่ออื่น | Peritoneal cavity fluid, peritoneal fluid excess, hydroperitoneum, abdominal dropsy[1] |
---|
| ช่องท้องของผู้ป่วยตับแข็งเรื้อรังจนแสดงอาการท้องมานและเส้นเลือดดำแสดงให้เห็นชัด | การออกเสียง | - , ə-sy-teez, /əˈsʌɪtiːz/[2]
|
---|
สาขาวิชา | วิทยาทางเดินอาหาร |
---|
อาการ | ขนาดท้องที่ใหญ่ขึ้น, น้ำหนักตัวเพิ่ม, รู้สึกไม่สบายในท้อง, หายใจลำบาก[3] |
---|
ภาวะแทรกซ้อน | การติดเชื้อแบคทีเรียเองที่เพริทอเนียล, โรคตับและไต, โซเดียมในเลือดต่ำ[3][4] |
---|
สาเหตุ | ตับแข็ง, มะเร็ง, หัวใจล้มเหลว, วัณโรค, ตับอ่อนอักเสบ, หลอดเลือดดำตับอุดตัน[4] |
---|
วิธีวินิจฉัย | ตรวจร่างกาย, อัลตราซาวด์, ซีทีสแกน[3] |
---|
การรักษา | บริโภคอาหารเกลือต่ำ, ทานยา, เจาะเอาน้ำออก[3] |
---|
ยา | สไปโรโนแลกโตน, ฟูรอเซไมด์[3] |
---|
ความชุก | >50% ของผู้ป่วยตับแข็ง[4] |
---|
ท้องมาน หรือ ท้องบวม (อังกฤษ: Ascites) เป็นการสะสมของของเหลวมากผิดปกติในช่องท้อง[1] ทางเทคนิกแล้วหมายถึงของเหลวมากกว่า 25 มิลลิลิตรในช่องเพอริโตเนียล แต่อาจพบได้สูงถึงหนึ่งลิตร[4] อาการแสดงอาจประกอบด้วยขนาดท้องโต, น้ำหนักตัวเพิ่ม, รู้สึกแน่นท้อง และหายใจลำบาก[3] อาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดได้ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรียเองของเพริทอเนียล[3]
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
การลดลง | |
---|
การเพิ่มขึ้น | อาการเลือดออก |
- ทั่วไป รอยฟกช้ำ/ก้อนเลือดขัง: จุดเลือดออก
- โรคกาฬม่วง
- เลือดออกใต้ผิว
เฉพาะที่: ศีรษะ (การตกเลือดกำเดา, อาการไอเป็นเลือด, การตกเลือดในกะโหลก, การตกเลือดในตา, การตกเลือดใต้เยื่อตา)
- อก (ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีเลือด, ภาวะถุงหุ้มหัวใจมีเลือด, ก้อนเลือดขังในปอด)
- ท้อง (อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้, การตกเลือดในระบบน้ำดี, ช่องท้องมีเลือด, กล่อนเลือด, ภาวะมีเลือดในท่อนำไข่)
- ข้อ (โรคเลือดออกในข้อ)
|
---|
อาการบวมน้ำ | |
---|
อื่น ๆ | |
---|
|
---|
|