ปรัชญาการศึกษา[1] (อังกฤษ: Philosophy of education; educational philosophy) เป็นสาขาหนึ่งของปรัชญา ศึกษาศาสตร์ และจิตวิทยาประยุกต์ ที่ใช้ในการพิจารณาวัตถุประสงค์ รูปแบบ วิธีการและผลทางการศึกษา[2] โดยได้รับอิทธิพลจาก 2 ด้านที่สำคัญ ด้านแรกคือทางด้านปรัชญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของจริยธรรมและญาณวิทยา อีกด้านหนึ่งคือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอน[3] การเรียนการสอนทางด้านปรัชญาการศึกษานั้นจัดการเรียนในคณะทางด้านศึกษาศาสตร์ มากกว่าที่จะจัดการเรียนการสอนในคณะจิตวิทยา[4][5] สำหรับปรัชญาการศึกษานั้นสืบย้อนไปถึงในสมัยโสกราตีส แต่ได้รับการยอมรับในฐานะศาสตร์ ๆ หนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 19[6] เนื่องจากศาสตร์นี้ยังขาดการเชื่อมต่อกับศาสตร์อื่นๆทางด้านจิตวิทยา ส่งผลให้ปรัชญาการศึกษายังคงเปิดรับแนวความคิดใหม่[7]
ปรัชญาการศึกษา
นักปรัชญาการศึกษา
อ้างอิง
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน, ศัพท์ศึกษาศาสตร์, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2555, หน้า 401
- ↑ Frankena, William K.; Raybeck, Nathan; Burbules, Nicholas (2002). "Philosophy of Education". In Guthrie, James W. Encyclopedia of Education, 2nd edition. New York, NY: Macmillan Reference. ISBN 0-02-865594-X
- ↑ D. C. Phillips, "What is philosophy of education", in Sage Handbook of Philosophy of Education, ISBN 9780415428927
- ↑ Noddings, N. (1950). Philosophy of Education. Boulder,
CO: Westview ISBN 0-8133-8429-X
- ↑ Noddings 1995, pp. 1–6 harvnb error: no target: CITEREFNoddings1995 (help)
- ↑ Blake, Smeyers, Smith, and Standish, "Introduction". Blackwell Guide to the Philosophy of Education, ISBN 0631221182
- ↑ Phillips, D.C., Philosophy of Education, The Stanford Encyclopedia of Philosophy (Spring 2009 Edition), Edward N. Zalta (ed.)