ฝ่ายตรวจการฝ่ายตรวจการ (อังกฤษ: Censorate) สมัยราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368–1644) และราชวงศ์ชิง (ค.ศ. 1644–1912) เรียก โตวฉาเยฺวี่ยน (จีน: 都察院; พินอิน: Dōuchá Yuàn; "ฝ่ายตรวจการทั่วไป") สมัยก่อนหน้าเรียก ยฺวี่ฉื่อไถ (จีนตัวย่อ: 御史台; จีนตัวเต็ม: 御史臺; พินอิน: Yùshǐ Tái; "หออาลักษณ์หลวง") เป็นหน่วยงานราชการชั้นสูงในจักรวรรดิจีน ตั้งขึ้นครั้งแรกในช่วงราชวงศ์ฉิน (221–207 ปีก่อนคริสตกาล) ในช่วงราชวงศ์ยฺเหวียนของมองโกล (ค.ศ. 1271–1368) ฝ่ายตรวจการมีบทบาทแข็งขันอย่างยิ่ง ครั้นราชวงศ์หมิง ฝ่ายตรวจการกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบราชการที่มีการรวมศูนย์กลาง มีสถานะเทียบเท่ากระทรวงทั้งหกและสภากลาโหมทั้งห้า ขึ้นตรงต่อองค์จักรพรรดิ[1] ฝ่ายตรวจการแบ่งออกเป็นสามฝ่าย เรียกว่า "เยฺวี่ยน" (院) คือ
อ้างอิงเชิงอรรถ
บรรณานุกรม
|