Share to:

 

พอลิไวนิลคลอไรด์

พอลิไวนิลคลอไรด์
Repeating unit of PVC polymer chain.
Space-filling model of a part of a PVC chain

Pure PVC powder, containing no plasticizer
ชื่อ
IUPAC name
poly(1-chloroethylene)[1]
ชื่ออื่น
Polychloroethene
เลขทะเบียน
ตัวย่อ PVC
ChEBI
เคมสไปเดอร์
  • none
ECHA InfoCard 100.120.191 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
KEGG
MeSH Polyvinyl+Chloride
คุณสมบัติ
(C2H3Cl)n[2]
ลักษณะทางกายภาพ ขาว, ของแข็งเปราะบาง
กลิ่น ไร้กลิ่น
ความหนาแน่น 1.4 g/cm3
ไม่ละลายน้ำ
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล ไม่ละลายน้ำ
ความสามารถละลายได้ ใน tetrahydrofuran ละลายน้ำเล็กน้อย
−10.71×10−6 (SI, 22 °C)[3]
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 1: Exposure would cause irritation but only minor residual injury. E.g. turpentineFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
1
1
0
10 mg/m3 (ไม่สูดหายใจ), 3 mg/m3 (หายใจเข้าไปได้) (TWA)
NIOSH (US health exposure limits):[4]
PEL (Permissible)
15 mg/m3 (ไม่สูดหายใจ), 5 mg/m3 (หายใจเข้าไปได้) (TWA)
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

พอลิไวนิลคลอไรด์ (อังกฤษ: polyvinyl chloride; เขียนอีกแบบเป็น: poly(vinyl chloride))[5][6] สำนวนภาษาปาก: ไวนิล (vinyl)[7] หรือ พอลิไวนิล มีชื่อย่อที่ใช้กันทั่วไปว่า พีวีซี (PVC)[7] มีสูตรทางเคมีว่า (C2H3Cl)n เป็นเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง

การใช้งาน

ในด้านการค้า พอลิไวนิลคลอไรด์ เป็นสินค้าที่มีคุณค่ามากในอุตสาหกรรมเคมี มากกว่า 50% ของพอลิไวนิลคลอไรด์ที่ผลิตได้ทั่วโลกถูกใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็นส่วนหนึ่งของตัวอาคาร ทั้งนี้เพราะพอลิไวนิลคลอไรด์มีราคาที่ราคาถูก คงทนและง่ายต่อการขึ้นรูป ในช่วงเวลาไม่นานมานี้พีวีซีถูกนำมาใช้เพื่อแทนที่ไม้, คอนกรีต และดินด้วย อย่างไรก็ตามกระบวนการผลิตพอลิไวนิลคลอไรด์ ยังส่งผลในด้านลบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์

พอลิไวนิลคลอไรด์ถูกประยุกต์ใช้งานที่หลากหลาย ในรูปแบบของพลาสติกแข็ง เช่น ขอบกันกระแทก, ตัวบัตรต่าง ๆ, ท่อ และในปัจจุบันได้มีการนำ พอลิไวนิลคลอไรด์มาปรับปรุงส่วนใหญ่แล้วคนทั่วไปเคยจะได้ยินชื่อ PVC อยู่แล้ว แต่อาจจะยังไม่รู้ที่มาที่ไป ความหมาย ที่แท้จริง เช่น PVC มาจากไหน? , PVC คืออะไร? , เป็นต้น  

PVC ย่อมาจาก polyvinylchloride

PVC หมายถึง พอลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinylchloride) ซึ่งเป็นพลาสติกที่สามารถเปลี่ยนคุณสมบัติได้ด้วยการเติมสารเคมี โดยทั่วไปแล้ว PVC มีความนิยมใช้ในกลุ่มงานอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์น้อยกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่น เนื่องจาก PVC ประกอบไปด้วยสารเคมีปรุงแต่งจึงทำให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในบรรจุภัณฑ์ แต่ก็มีบรรจุภัณฑ์บางชนิดผลิตจาก PVC สามารถนำมาใช้ได้โดยไม่มีสารเคมีตกค้าง เช่น ฟิล์มยืดสำหรับห่อเนื้อสัตว์และผลไม้สด ถาดบรรจุอาหารแห้ง ถาดหรือกล่องบรรจุอาหารสด และขวดบรรจุน้ำมันพืช เป็นต้น

การเตรียม

พอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน มีลักษณะเป็นผงสีขาว มาจากกระบวนการพอลิเมอไรเซชัน ของมอนอเมอร์ไวนิลคลอไรด์ โดยกว่า 57% เป็นน้ำหนักของคลอรีน (chlorine, Cl) ทำให้พอลิไวนิลคลอไรด์มีส่วนผสมของปิโตรเลียมน้อยกว่าพอลิเมอร์ชนิดอื่น

The polymerisation of vinyl chloride
The polymerisation of vinyl chloride

เนื่องจากพอลิไวนิลคลอไรด์เรซินไม่มีคุณสมบัติการเกาะตัวกันทำให้ไม่สามารถขึ้นรูปได้ ทำให้เวลานำไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องผ่านการเติมสารเติมแต่งต่าง ๆ เพื่อให้สามารถขึ้นรูปและได้คุณสมบัติที่ต้องการ

อ้างอิง

อ้างอิงทั่วไป

  • Titow, W. (1984). PVC Technology. London: Elsevier Applied Science Publishers. ISBN 978-0-85334-249-6.

อ้างอิงภายใน

  1. "poly(vinyl chloride) (CHEBI:53243)". CHEBI. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2013. สืบค้นเมื่อ 12 July 2012.
  2. "Substance Details CAS Registry Number: 9002-86-2". Commonchemistry. CAS. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 July 2012.
  3. Wapler, M. C.; Leupold, J.; Dragonu, I.; von Elverfeldt, D.; Zaitsev, M.; Wallrabe, U. (2014). "Magnetic properties of materials for MR engineering, micro-MR and beyond". JMR. 242: 233–242. arXiv:1403.4760. Bibcode:2014JMagR.242..233W. doi:10.1016/j.jmr.2014.02.005. PMID 24705364. S2CID 11545416.
  4. "Material Safety Data Sheet: PVC Compounds Pellet and Powder" (PDF). Georgia Gulf Chemical and Vinyls LLC. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2021. สืบค้นเมื่อ 23 July 2021.
  5. "Poly(vinyl chloride)" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). MilliporeSigma. 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 October 2022. สืบค้นเมื่อ 11 October 2022.
  6. "Poly(Vinyl Chloride)".
  7. 7.0 7.1 "About PVC". The European Council of Vinyl Manufacturers. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-12-05. สืบค้นเมื่อ 2024-03-17.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya