Share to:

 

ภูมิทัศน์ประหยัดพลังงาน

ภูมิทัศน์ประหยัดพลังงาน (อังกฤษ: Energy-efficient landscaping) เป็นงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมประเภทหนึ่งที่มีความมุ่งหมายเพื่อลดการใช้พลังงาน ซึ่งมีข้อแตกต่างที่ชัดเจนระหว่างพลังงานที่ใช้ในการผลิตวัสดุและการก่อสร้างงานภูมิทัศน์และพลังงานที่ใช้ในระหว่างการใช้งานและการดูแลรักษา

เทคนิคในการออกแบบรวมถึง:

  • การปลูกต้นไม้เพื่อให้ร่มเงาอาคารสถานที่ที่ช่วยลดพลังงานที่ใช้ในการปรับอากาศ
  • การปลูกต้นไม้หรือการสร้างฉากกันลมเพื่อลดความเร็วลม เป็นการช่วยลดการสูญเสียความร้อนในอาคารในประเทศหนาว
  • การปกคลุมผนังโดยการใช้ไม้พุ่มหรือไม้เลื้อยเพื่อลดแรงลมที่ปะทะกำแพงที่ทำให้สูญเสียความร้อนในฤดูหนาวและลดความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ปะทะโดยตรงในฤดูร้อน
  • การใช้เปลือกอาคารเป็นดิน[1] (Earth sheltering) และการหันเหตัวอาคารให้เข้ากับรูปทรงแผ่นดินและทิศทางแดด-ลม
  • การทำหลังคาเขียวที่ทำให้อาคารเย็นลงด้วยมวลความร้อน[2]ของดินหรือวัสดุปลูกที่ชุ่มชื้นและการระเหยคายน้ำของพืชที่ปลูกคลุม
  • ลดปรากฏการณ์เกาะความร้อนด้วยการทำผิวพื้นพรุนน้ำ, ใช้ผิวพื้นที่มีอัตราส่วนรังสีสะท้อน (albedo) สูง, การให้ร่มเงา, และการลดพื้นผิวดาดแข็ง
  • ใช้โคมไฟที่มีกระบังแสงเต็มที่ (แยงตาทำให้ต้องเพิ่มความสว่าง) , ใช้อุปกรณ์ตรวจจับระดับแสงสว่าง, และใช้อุปกรณ์ไฟประสิทธิภาพสูง

เทคนิคภูมิทัศน์ประหยัดพลังงาน รวมถึงการใช้วัสดุท้องถิ่นเพื่อประหยัดพลังงานจากการขนส่ง, การทำปุ๋ยหมักและหั่นย่อยกิ่งไม้ ณ ที่ก่อสร้างเพื่อลดการขน "ขยะเขียว" ไปทิ้งนอกบริเวณก่อสร้าง, ใช้เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงธรรมดาเพื่อลดการใช้ไฟฟ้าหรือน้ำมัน, รวมทั้งการเลือกใช้พืชทนแล้งในพื้นที่แห้งแล้งหรือขาดน้ำ, การซื้อวัสดุพืชพรรณในท้องที่เพื่อลดการขนส่งและกรรมวิธีอื่นๆ ที่ช่วยลดการใช้พลังงาน

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น


การพัฒนาและความยั่งยืนของพลังงาน   แก้ไข
การผลิตพลังงาน (Energy production) แอคตีฟโซลาร์ | ไบโอแอลกอฮอล์ | ไบโอดีเซล | เชื้อเพลิงชีวภาพ | ก๊าซชีวภาพ | ชีวมวล | ดีปเลควอเตอร์คูลลิ่ง | การผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า | การผลิตไฟฟ้า | เชื้อเพลิงเอทานอล | เซลล์เชื้อเพลิง | พลังงานฟิวชัน | พลังงานความร้อนใต้พิภพ | ไฟฟ้าพลังน้ำ | เชื้อเพลิงเมทานอล | การแปลงพลังงานความร้อนของมหาสมุทร | พาสซีฟโซลาร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | โซลาร์ชิมเนย์ | แผงเซลล์แสงอาทิตย์ | พลังงานแสงอาทิตย์ | พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ | โซลาร์เทาเวอร์ | ไทดัลเพาเวอร์ | โทรมบ์วอลล์ | กังหันน้ำ | กังหันลมผลิตไฟฟ้า
การพัฒนาพลังงาน
(Energy development)
การพัฒนาพลังงาน | สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า | การพัฒนาพลังงานในอนาคต | เศรษฐศาสตร์ไฮโดรเจน | ฮับเบิรต์พีค | การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ | ความทันสมัยเกินไป | เทคโนโลยีเฉพาะตัว
พลังงานและสถานภาพความยั่งยืน
(Energy and sustainability status)
สถานภาพปัจจุบันของมนุษยชาติ | ระบบนิเวศบริการ | การ์ดาเชฟสเกล | TPE | ดรรชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ | คุณค่าของโลก | เทคโนโลยีระหว่างกลาง | ทุนโครงสร้างพื้นฐาน
ความยั่งยืน
(Sustainability)
อาคารอัตโนมัติ | ป่านิเวศ | นิเวศเศรษฐศาสตร์ | การคุ้มครองโลก | เศรษฐศาสตร์พัฒนา | การออกแบบสิ่งแวดล้อม | การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ | อาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม | ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น | อาคารธรรมชาติ | เกษตรถาวร | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ | Straw-bale construction | ความยั่งยืน | เกษตรยั่งยืน | การออกแบบอย่างยั่งยืน | การพัฒนาที่ยั่งยืน | อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน | ชีวิตที่ยั่งยืน | The Natural Step
การจัดการความยั่งยืน
(Sustainability management)
คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | ทฤษฎีพัฒนามนุษย์ | การพัฒนาที่ผิดพลาด | ปฏิญญาริโอเรื่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา | สถาบันร๊อคกีเมาน์เทน | ซิมวันเดอร์ริน | ด้อยพัฒนา | สภาธุรกิจโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน | การประชุมสุดยอดของโลกว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน | หลักการการใช้มาตรการระวังล่วงหน้า | Intermediate Technology Development Group
พลังงานและการอนุรักษ์
(Energy and
conservation)
การอนุรักษ์พลังงาน | ภูมิทัศน์ประหยัดพลังงาน | รถยนต์ไฟฟ้า | รถยนต์ไฮโดรเจน | การใช้ชีวิตเรียบง่ายแบบสมัครใจ | การวัดรอยเท้าทางนิเวศ | พื้นที่การท่องเที่ยวที่ผสมผสานในแบบอนุรักษ์ | ของเสีย
Kembali kehalaman sebelumnya