ลักษณะเฉพาะ
|
บันทึกสถิติ
|
วันที่
|
สถานที่
|
บันทึก
|
มีความรุนแรงสูงสุด (ด้านความกดอากาศต่ำสุดที่ศูนย์กลาง) |
870 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล) (25.69 นิ้วปรอท) |
12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 |
พายุไต้ฝุ่นทิป ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ |
[2][3]
|
มีความรุนแรงสูงสุด (ด้านความเร็วลมเฉลี่ยรอบพื้นผิวใน 1 นาทีอย่างเป็นทางการ) |
90 ม./ว. (200 ไมล์ต่อชั่วโมง, 175 นอต, 325 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) |
23 ตุลาคม พ.ศ. 2558 |
พายุเฮอร์ริเคนแพทริเซีย ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก |
[4]
|
มีความรุนแรงสูงสุด (ด้านความเร็วลมเฉลี่ยรอบพื้นผิวใน 1 นาที)1 |
96 ม./ว. (215 ไมล์ต่อชั่วโมง, 186 นอต, 345 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) |
12 กันยายน พ.ศ. 2504 |
พายุไต้ฝุ่นแนนซี ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ |
[3]
|
มีความรุนแรงสูงสุด (ด้านความเร็วลมเฉลี่ยรอบพื้นผิวใน 10 นาที) |
72 ม./ว. (160 ไมล์ต่อชั่วโมง, 140 นอต, 260 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) |
12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 |
พายุไต้ฝุ่นทิป ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ |
[5]
|
ทวีกำลังแรงอย่างรวดเร็วที่สุด |
เปลี่ยนแปลง 100 มิลลิบาร์ (hPa) จาก 976 มิลลิบาร์ (hPa) สู่ 876 มิลลิบาร์ (hPa) ภายใน 24 ชั่วโมง |
22 - 23 กันยายน พ.ศ. 2526 |
พายุไต้ฝุ่นฟอร์เรสท์ ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ |
[6][7]
|
ก่อให้เกิดลมกระโชกแรงที่สุด |
113 ม./ว. (253 ไมล์ต่อชั่วโมง, 220 นอต, 408 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) |
10 เมษายน พ.ศ. 2539 |
พายุไซโคลนโอลิเวีย ใน เกาะบาร์โรว์, ออสเตรเลีย |
[8]
|
ก่อให้เกิดน้ำขึ้นจากพายุสูงที่สุด |
14.5 เมตร (48 ฟุต) |
5 มีนาคม พ.ศ. 2442 |
พายุไซโคลนมาฮินา ใน อ่าวบาเทิร์สต์, รัฐควีนส์แลนด์, ออสเตรเลีย |
[9]
|
มีปริมาณน้ำฝนสะสมสูงที่สุด |
6,083 มม. (239.5 นิ้ว) |
14 - 28 มกราคม พ.ศ. 2523 |
พายุไซโคลนไฮอะซินท์ ใน เกาะเรอูว์นียง |
[10]
|
พายุหมุนเขตร้อนที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (โดยเส้นผ่าศูนย์กลาง) |
ลมพายุ (17 ม./ว., 34 kt, 39 ไมล์/ชม., 63 กม./ชม.) แผ่ออกไป 2,220 กิโลเมตร (1,380 ไมล์) |
12 ตุลาคม พ.ศ. 2522 |
พายุไต้ฝุ่นทิป ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ |
[2][11]
|
พายุหมุนเขตร้อนที่มีขนาดเล็กที่สุด (โดยลมนับจากศูนย์กลาง) |
ลมพายุ (17 ม./ว., 34 kt, 39 ไมล์/ชม., 63 กม./ชม.) แผ่ออกไป 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) จากจุดศูนย์กลาง |
7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 |
พายุโซนร้อนมาร์โค ใน อ่าวกัมเปเช |
[12]
|
มีตาพายุขนาดใหญ่ที่สุด
|
370 กิโลเมตร (230 ไมล์) |
20 สิงหาคม พ.ศ. 2503 |
พายุไต้ฝุ่นคาร์เมน ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ |
[13]
|
มีตาพายุขนาดเล็กที่สุด
|
3.7 กิโลเมตร (2.3 ไมล์) |
19 ตุลาคม พ.ศ. 2548 |
พายุเฮอร์ริเคนวิลมา ใน ทะเลแคริบเบียน |
[14]
|
มีตาพายุที่อุณหภูมิอุ่นที่สุด |
32.2 °ซ (90.0 °ฟ) ที่ความสูง 758 hPa |
23 ตุลาคม พ.ศ. 2558 |
พายุเฮอร์ริเคนแพทริเซีย ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก |
[15]
|
พายุหมุนเขตร้อนที่ยาวนานที่สุด |
31 วัน |
11 สิงหาคม - 10 กันยายน พ.ศ. 2537 |
พายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่นจอห์น ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตะวันตกเฉียงเหนือ |
[16]
|
พายุหมุนเขตร้อนที่เดินทางยาวที่สุด |
13,280 กิโลเมตร (7,165 ไมล์) |
11 สิงหาคม - 10 กันยายน พ.ศ. 2537 |
พายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่นจอห์น ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกและตะวันตกเฉียงเหนือ |
[17]
|
มีความเร็วลมในระดับ 5นานที่สุด |
5.50 วัน |
9–14 กันยายน พ.ศ. 2504 |
พายุไต้ฝุ่นแนนซี ในแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก |
[18]
|
พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อความเสียหายมากที่สุด |
สร้างความเสียหาย 108 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินUSD ค.ศ. 2005 ) |
29 สิงหาคม พ.ศ. 2548 |
พายุเฮอร์ริเคนแคทรีนา ในมหาสมุทรแอตแลนติกตะวันตก และ อ่าวเม็กซิโก |
[19]
|
พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อการเสียชีวิตมากที่สุด |
กว่า 500,000+ คน |
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 |
พายุไซโคลนโบลาแห่งปี พ.ศ. 2513 ใน อ่าวเบงกอล |
[20][21]
|
ก่อตัวใกล้กับเส้นศูนย์สูตรมากที่สุด |
1.4° น |
26 ธันวาคม พ.ศ. 2544 |
พายุโซนร้อนฮวาเหม่ย์ ใน ทะเลจีนใต้ |
[22]
|
มีกำลังเคลื่อนย้ายวัตถุธรรมชาติมากที่สุด |
177 ตันสั้น (ตันสหรัฐอเมริกา) (354,000 ปอนด์) |
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 |
พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน ใน เกาะซามาร์, ฟิลิปปินส์ |
[23]
|