ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2509 |
---|
แผนที่สรุปฤดูกาล |
ขอบเขตฤดูกาล |
---|
ระบบแรกก่อตัว | 4 เมษายน พ.ศ. 2509 |
---|
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 30 ธันวาคม พ.ศ. 2509 |
---|
พายุมีกำลังมากที่สุด |
---|
|
ชื่อ | คิท |
---|
• ลมแรงสูงสุด | 315 กม./ชม. (195 ไมล์/ชม.) |
---|
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 880 hPa (มิลลิบาร์) |
---|
|
สถิติฤดูกาล |
---|
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 39 |
---|
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 30 |
---|
พายุไต้ฝุ่น | 20 |
---|
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น | 3 |
---|
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ไม่ทราบ |
---|
ความเสียหายทั้งหมด | ไม่ทราบ |
---|
|
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2507, 2508, 2509, 2510, 2511 |
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) เป็นฤดูของพายุหมุนเขตร้อนแต่ไม่มีการกำหนดช่วงของขอบเขตของพายุ แต่ส่วนใหญ่จะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนและธันวาคม วันเหล่านี้ในแต่ละปีเมื่อพายุไซโคลนเขตร้อนมักจะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก
ขอบเขตของบทความนี้จะจำกัดอยู่ทางบริเวณตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตร และทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล โดยพายุที่เกิดทางด้านตะวันออกของเส้นนี้และทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรจะถูกเรียกรวมๆว่า เฮอร์ริเคน ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2509
พายุหมุนเขตร้อนในแอ่งแปซิฟิกนี้ ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นของสหรัฐอเมริกาได้กำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ข้างหน้า
สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตนเองเมื่อมีพายุก่อตัวหรือทวีความรุนแรงในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ (Philippine area of responsibility)
พายุ
ปีนี้มีดีเปรสชันเขตร้อน 39 ลูกก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก
ไต้ฝุ่นเฮสเตอร์ (เอตัง)
ไต้ฝุ่นไอร์มา (กลาริง)
ไต้ฝุ่นจูดี้
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นคิท
พายุโซนร้อนโลลา
พายุโซนร้อนโลลาขึ้นถล่มฮ่องกงทำให้มีผู้เสียชีวิตหนึ่งราย[1]
ไต้ฝุ่นมามีย์
ไต้ฝุ่นนีน่า
ไต้ฝุ่นโอร่า
พายุโซนร้อนพิลลิส
ไต้ฝุ่นริต้า
ไต้ฝุ่นซูซาน
ไต้ฝุ่นเทส
ไต้ฝุ่นไวโอล่า
พายุโซนร้อนวินนีย์
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นอลิซ
พายุโซนร้อนเบตตี้
ซูเปอร์ไต้ฝุ่นโคร่า
พายุโซนร้อนโดริส
ไต้ฝุ่นเอลซีย์
ไต้ฝุ่นฟลอซซีย์
พายุโซนร้อนแกรซ
พายุโซนร้อนเฮเลน
ไต้ฝุ่นไอดา
ไต้ฝุ่นจูน
ไต้ฝุ่นเคทีย์
พายุโซนร้อนโลร์น่า
ไต้ฝุ่นมารีย์
พายุโซนร้อนแนนซี่
พายุโซนร้อนโอลก้า
ไต้ฝุ่นปาเมลา
อ้างอิง