Share to:

 

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2521

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2521
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว6 มกราคม พ.ศ. 2521
ระบบสุดท้ายสลายตัว16 ธันวาคม พ.ศ. 2521
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อริตา
 • ลมแรงสูงสุด220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด878 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด35 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด31 ลูก
พายุไต้ฝุ่น16 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น1 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ทราบ
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2519, 2520, 2521, 2522, 2523

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2521 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2521 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2521) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

ภาพรวมฤดูกาล

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ

ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 33 ลูก ในจำนวนนี้ 29 ลูก พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 15 ลูก และในจำนวนนั้น 1 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุโซนร้อนกำลังแรงเนดีน

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 13 มกราคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโอลีฟ

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 15 – 26 เมษายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อาตัง

ในประเทศฟิลิปปินส์ พายุไต้ฝุ่นโอลีฟ หรือพายุไต้ฝุ่นอาตังทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 3 คน และอีก 3,500 คนต้องไร้ที่อยู่อาศัย[2] อดีตเรือ "FS" ของคอมปาเนียมาริติมาก็ติดอยู่ในเหตุการณ์นี้ด้วย โดยอัปปางลงทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซิบูยัน หลังจากพยายามไปยังสถานหลับภัย หลังจากเดินทางมาจากมะนิลา-เชบู[3]

พายุโซนร้อนพอลลี (บีซิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 13 – 20 มิถุนายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโรส (กลาริง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 21 – 24 มิถุนายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเชอร์ลีย์ (เดลิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 26 – 30 มิถุนายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นทริกซ์

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 11 – 23 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเวอร์จิเนีย

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงแอกเนส

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 24 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุแอกเนสก่อตัวเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม จากนั้นเคลื่อนตัวเป็นวงกลม และขึ้นฝั่งประเทศจีนในวันที่ 29 กรกฎาคม[1] และสลายตัวไปในวันที่ 30 กรกฎาคม ในฮ่องกงพายุโซนร้อนแอกเนสทำให้มีผู้เสียชีวิต 3 คน[4]

พายุโซนร้อนบอนนี (กาดิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคาร์เมน (อีเลียง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเดลลา (เฮลิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 13W

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 14 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
999 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.5 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอเลน (มีดิง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 28 สิงหาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเฟย์

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 25 สิงหาคม – 7 กันยายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
935 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.61 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกลอเรีย (โอยัง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเฮสเตอร์

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเออร์มา (รูปิง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 15 กันยายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

เออร์มาเป็นพายุไต้ฝุ่นลูกที่แปดของฤดู ก่อตัวขึ้นในร่องมรสุมทางตะวันออกเฉียงใต้ของไต้หวัน[5] เออร์มาพัดขึ้นฝั่งในเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น ด้วยความเร็วลม 120 กม./ชม. พายุไต้ฝุ่นเออร์มาทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 6 คน และอีก 3,000 คนต้องไร้ที่อยู่อาศัย มีผู้สูญหาย 4 คน และบาดเจ็บอีก 100 คน จากอุทกภัยและดินถล่มในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของญี่ปุ่น[6] ทำให้บ้านเรือน 1,597 หลังถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย และอีก 6,266 หลังประสบอุทกภัย[7] เออร์มาทำให้กระจกหลายบานแตก รถยนต์พลิกคว่ำ และเรืออัปปางหลายลำ นักกีฬาหลายคนในกีฬามิตรภาพญี่ปุ่นจีนที่จัดขึ้นที่คิตะกีวชูได้รับบาดเจ็บ เรือบรรทุกน้ำมันจดทะเบียนสัญชาติไลบีเรียถูกพัดออกไปจากท่าเทียบจอดในท่าเรือเมืองคูเระ จังหวัดฮิโรชิมะ โดยลอยออกไปกว่า 5 กิโลเมตรก่อนจะไปติดเกาะเล็ก ๆ ในทะเลในเซโตะ[6] เออร์มามีสถานะเป็นพายุไต้ฝุ่นเพียง 12 ชั่วโมง ทำให้มันเป็นพายุที่มีช่วงที่เป็นพายุไต้ฝุ่นสั้นที่สุดของฤดูกาล[5]

พายุไต้ฝุ่นจูดี

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงคิต

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 20 – 26 กันยายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นลอลา (เวลิง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแมมี

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 กันยายน – 4 ตุลาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงนีนา (อานิง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

จากรายงานของทางการฟิลิปปินส์ มีผู้เสียชีวิต 59 คน และมากกว่า 500,000 คนต้องอพยพไปยังศูนย์หลบภัย[8]

พายุไต้ฝุ่นออรา (ยานิง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 15 ตุลาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 25W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 8 – 12 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
999 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 26W (บีดัง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 10 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟิสลิส

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 22 ตุลาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นริตา

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 29 ตุลาคม
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
878 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 25.93 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กาดิง

พายุโซนร้อนลูกที่ 27

พายุโซนร้อน (JMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 30 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเทสส์

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 31 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 30W (เดลัง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 15 – 20 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไวโอลา (เอซัง)

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 24 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงวินนี

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 30 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนการ์ดิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 13 – 16 ธันวาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1978 ATCR TABLE OF CONTENTS เก็บถาวร 2011-06-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. "Typhoon". The Canberra Times. April 27, 1978. สืบค้นเมื่อ October 23, 2016 – โดยทาง Trove.
  3. "Typhoon "Atang" | Philippine Ship Spotters Society". psssonline.wordpress.com. สืบค้นเมื่อ 2016-10-23.
  4. "Historical Information". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-16. สืบค้นเมื่อ 2019-01-15.
  5. 5.0 5.1 Morford, Dean R.; Lavin, James K. (January 1, 1995). "1978 Annual Typhoon Report" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-04-30. สืบค้นเมื่อ October 23, 2016.
  6. 6.0 6.1 "Typhoon Irma leaves 3,000 homeless". The Canberra Times. September 18, 1978. สืบค้นเมื่อ September 22, 2016 – โดยทาง Trove.
  7. "Typhoon brushes Japan; 6 die (September 16, 1978)". สืบค้นเมื่อ 2016-10-23.
  8. "59 flood deaths". The Canberra Times. October 13, 1978. สืบค้นเมื่อ October 23, 2016 – โดยทาง Trove.
Kembali kehalaman sebelumnya