ลอว์โซน[1][2]
|
|
ชื่อ
|
Preferred IUPAC name
2-Hydroxynaphthalene-1,4-dione
|
ชื่ออื่น
2-Hydroxy-1,4-naphthoquinone กรดเฮนโนแทนนิก Natural Orange 6 C.I. 75480
|
เลขทะเบียน
|
|
|
|
|
|
1565260
|
ChEBI
|
|
ChEMBL
|
|
เคมสไปเดอร์
|
|
ดรักแบงก์
|
|
ECHA InfoCard
|
100.001.361
|
EC Number
|
|
|
4828
|
KEGG
|
|
|
|
UNII
|
|
|
|
InChI=1S/C10H6O3/c11-8-5-9(12)10(13)7-4-2-1-3-6(7)8/h1-5,12H NKey: CSFWPUWCSPOLJW-UHFFFAOYSA-N NInChI=1/C10H6O3/c11-8-5-9(12)10(13)7-4-2-1-3-6(7)8/h1-5,12H Key: CSFWPUWCSPOLJW-UHFFFAOYAK
|
O=C(C(O)=C1)C2=C(C=CC=C2)C1=O
|
คุณสมบัติ
|
|
C10H6O3
|
มวลโมเลกุล
|
174.15 g/mol
|
ลักษณะทางกายภาพ
|
ผลึกสีเหลือง
|
จุดหลอมเหลว
|
195 ถึง 196 องศาเซลเซียส (383 ถึง 385 องศาฟาเรนไฮต์; 468 ถึง 469 เคลวิน) (สลายตัว)
|
|
แทบจะละลายไม่ได้[3]
|
ความอันตราย[4]
|
GHS labelling:
|
|
|
|
เตือน
|
|
H315, H319, H335
|
|
P201, P202, P261, P264, P270, P271, P280, P281, P301+P312, P302+P352, P304+P340, P305+P351+P338, P308+P313, P312, P330, P332+P313, P337+P313, P362, P403+P233, P405, P501
|
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
|
|
100 mg/kg
|
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
|
|
จักโลน
|
|
Chemical compound
ลอว์โซน (อังกฤษ: lawsone) บางครั้งเรียก กรดเฮนโนแทนนิก (hennotannic acid) มีชื่อทางเคมีว่า 2-ไฮดรอกซี-1,4-แนฟโทควิโนน (2-hydroxy-1,4-naphthoquinone) เป็นสีย้อมสีส้มแดง พบในใบของเทียนกิ่งขาว (Lawsonia inermis) และในดอกของผักตบชวา (Eichhornia crassipes)[5] ใช้สารสกัดจากเทียนกิ่งขาวที่มีลอว์โซนเป็นสีย้อมผมและผิวหนังมานานกว่า 5000 ปี ลอว์โซนจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนเช่น เกราทิน ในผิวหนังและผม โดยกระบวนการที่เรียกว่า Michael addition ทำให้สีย้อมติดทนจนกว่าจะถูกเช็ดออก ลอว์โซนสามารถดูดซึมรังสียูวี และสารสกัดมีประสิทธิภาพในการเป็นสารกันแดด ในทางเคมี ลอว์โซนมีความคล้ายจักโลนที่พบในวอลนัท
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
แนฟโทควิโนน ลอว์โซนเมทิลเอสเทอร์ และ methylene-3,3'-bilawsone เป็นสารออกฤทธิ์ในใบของพืชชนิด Impatiens balsamina[6]
อ้างอิง
|