Share to:

 

วิทยาเทวี ภัณฑารี

วิทยาเทวี ภัณฑารี
विद्यादेवी भण्डारी
ภัณฑารีเมื่อปี 2023
ประธานาธิบดีเนปาลคนที่ 2
ดำรงตำแหน่ง
29 ตุลาคม 2015 – 13 มีนาคม 2023
นายกรัฐมนตรีเคพี ชาร์มา โอลี
เชร์ บะฮาดูร เทวา
ปุษปกมล ทหาล
รองประธานาธิบดีปรมานันท์ ฌา
นันทะ กิศูร ปุน
ก่อนหน้าราม วรัน ยาฑัพ
ถัดไปราม จันทระ ปูเฑล
รัฐมนตรีกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
25 พฤษภาคม 2009 – 6 กุมภาพันธ์ 2011
ประธานาธิบดีราม วรัน ยาฑัพ
นายกรัฐมนตรีมธัพ กุมาร เนปาล
ก่อนหน้าราม บะฮาดูร ฐาปะ
ถัดไปพิชัย กุมาร กฉทร
รัฐมนตรีสิ่วแวดล้อม และประชากร
ดำรงตำแหน่ง
25 มีนาคม 1997 – 7 ตุลาคม 1997
กษัตริย์กษัตริย์วิเรนทระ
นายกรัฐมนตรีโลเกนทระ บะฮาดูร จันท์
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ดำรงตำแหน่ง
พฤศจิกายน 1994 – เมษายน 2008
ก่อนหน้าทมัน นาถ ธุงคณะ
ถัดไปฌักกู ประสาท สุเพฑี
เขตเลือกตั้งกาฐมาณฑุ–2
ดำรงตำแหน่ง
มกราคม 1994 – สิงหาคม 1994
ก่อนหน้ามทัน ภัณฑารี
ถัดไปมัน โมหัน อาธิกรี
เขตเลือกตั้งกาฐมาณฑุ–1
สมาชิกสภารัฐธรรมนูญ / สภานิติบัญญัติ
ดำรงตำแหน่ง
28 พฤษภาคม 2008 – 28 ตุลาคม 2015
เขตเลือกตั้งรายชื่อพรรค
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
วิทยา ปาณเฑย

(1961-06-19) 19 มิถุนายน ค.ศ. 1961 (63 ปี)
มเนภัณชยัง อำเภอโภชปุระ อาณาจักรเนปาล
(ปัจจุบันอยู่ในเทศบาลชนบทรามประสาไทร จังหวัดโกศี ประเทศเนปาล
พรรคการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์ (ร่วมมาร์กซิสต์-เลนนินนิสต์[1] (until 2015)
คู่สมรสMadan Bhandari (สมรส 1982; เสียชีวิต 1993)
บุตร2
บุพการีราม บะฮาดูร ปาณเฑย (บิดา)
มิถิลา ปาณเฑย (มารดา)
การศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาวิธโธทยะ โภชปุระ
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยตริภูวัน (BA)

วิทยาเทวี ภัณฑารี (เนปาล: विद्यादेवी भण्डारी, อักษรโรมัน: Bidya Devi Bhandari, ออกเสียง [bid̚djadebi bʱʌɳɖaɾi]; เกิด 19 มิถุนายน 1961) เป็นอดีตนักการเมืองชาวเนปาบ ผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเนปาลระหว่างปี 2015-อดีตรัฐมนตรีกลาโหม และสิ่งแวดล้อม เธอเป็นสตรีคนแรกที่ได้เป็นประธานาธิบดีเนปาล[2][3] เธอเป็นประธานพรรคคอมมิวนิสต์เนปาล (ร่วมมาร์กซ์-เลนิน)[4][5][6] ก่อนหน้าเป็นประธานาธิบดี ภัณฑารีได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหม ระหว่างปี 2009 ถึง 2011 ถือเป็นสตรีคนแรกที่ดำรงตำแหน่งนี้[7][8][9] รวมถึงเป็นรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมและประชากรในปี 1997 ก่อนหน้านี้เธอทำการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิสตรีในเนปาล[10] ในปี 2016 ฟอบส์ จัดอันดับเธออยู่ที่ 52 ใน 100 รายชื่อสตรีที่ทรงอิทธิพลที่สุดของโลก[5]

อ้างอิง

  1. "Profile of Right Honourable President Bidya Devi Bhandari". Office of the President of Nepal (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-12-10.
  2. "Nepal gets first woman President". The Hindu. 2015-10-28. สืบค้นเมื่อ 28 October 2015.
  3. "Bidya Devi Bhandari elected first woman President of Nepal". Kantipur News. สืบค้นเมื่อ 28 October 2015.
  4. "Who is Bidya Devi Bhandari?". Himalayan News. 2015-10-28. สืบค้นเมื่อ 28 October 2015.
  5. 5.0 5.1 "Bidya Devi Bhandari". Forbes. สืบค้นเมื่อ 2016-06-10.
  6. "The Himalayan Times: Oli elected UML chairman mixed results in other posts – Detail News: Nepal News Portal". The Himalayan Times. 15 July 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2014. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
  7. "Nepali Times | The Brief » Blog Archive » Enemies within". nepalitimes.com. สืบค้นเมื่อ 22 March 2014.
  8. "Women of Nepal". wwj.org.np. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2014.
  9. "Related News | Bidya Bhandari". ekantipur.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2014.
  10. "Who is Bidya Devi Bhandari? What are the 10 things you need to know about her?".


Kembali kehalaman sebelumnya