Share to:

 

สกุลสมเสร็จ

สกุลสมเสร็จ
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 9.5–0Ma สมัยไมโอซีนปัจจุบัน
สมเสร็จอเมริกาใต้ ชนิดต้นแบบของ Tapirus
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อันดับ: อันดับสัตว์กีบคี่
วงศ์: Tapiridae
สกุล: สกุลสมเสร็จ

Brisson, 1762[1]
ชนิดต้นแบบ
Hippopotamus terrestris
(=ปัจจุบันคือ Tapirus terrestris)
Linnaeus, 1758
ชนิด

สำหรับชนิดที่สูญพันธุ์ให้ดูที่ข้อความ

ชื่อพ้อง[1]
ประมาณ 12 ชื่อ
  • Acrocodia Goldman, 1913 (ยังถือเป็นสกุลต่างหาก[2] หรือสกุลย่อย[3])
  • Chinchecus Trouessart, 1898
  • Cinchacus Gray, 1873
  • Elasmognathus Gill, 1865
  • Hydrochoerus Gray, 1821 (nomen nudum)
  • Pinchacus Hershkovitz, 1954 (ยังเป็นสกุลย่อยของ Tapirus[3])
  • Rhinochoerus Wagler, 1830
  • Syspotamus Billburg, 1827
  • Tapir Blumenbach, 1779
  • Tapyra Liais, 1872
  • Tapirella Palmer, 1903 (ยังเป็นสกุลย่อยของ Tapirus[3])
  • Tapirussa Frisch, 1775

สกุลสมเสร็จ [4] (ชื่อวิทยาศาสตร์: Tapirus) เป็นสกุลของสมเสร็จที่มีชีวิตอยู่ สมเสร็จมลายูมักรวมเข้าใน Tapirus ด้วย แม้ว่าบางส่วนย้ายให้อยู่ในสกุลของตนเองชื่อ Acrocodia[2]

ชนิด

ภาพ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ขอบเขต
สมเสร็จอเมริกากลาง Tapirus bairdii (Gill, 1865) เม็กซิโก, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ
สมเสร็จอเมริกาใต้ (มีอีกชื่อว่าสมเสร็จบราซิลหรือสมเสร็จป่าต่ำ) Tapirus terrestris (Linnaeus, 1758) เวเนซุเอลา, โคลอมเบีย และกายอานาทางตอนเหนือถึงบราซิล, อาร์เจนตินา และปารากวัยทางตอนใต้, ถึงโบลิเวีย, เปรู และเอกวาดอร์ทางตะวันตก
สมเสร็จภูเขา Tapirus pinchaque (Roulin, 1829) ทางตะวันออกและตอนกลางของเทือกเขาโกร์ดีเยร์รัส (Cordilleras mountains) ในโคลอมเบีย, เอกวาดอร์ และทางเหนือสุดของเปรู
สมเสร็จมลายู (สมเสร็จเอเชีย, สมเสร็จตะวันออก หรือสมเสร็จอินเดีย) Tapirus indicus (Desmarest, 1819) อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า และไทย

Kabomani tapir เคยถือเป็นชนิดที่อยู่ในสกุลนี้ แต่ปัจจุบันจัดให้อยู่ใน T. terrestris[5][6]

วิวัฒนาการ

Tapirus ปรากฏตัวครั้งแรกในสมัยไมโอซีนตอนปลายที่อเมริกาเหนือ โดยที่ Tapirus webbi อาจเป็นชนิดหอสซิลที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่มีอยู่

Tapirus กระจายเข้าสู่อเมริกาใต้และยูเรเชียในสมัยไพลโอซีน โดยมีการเสนอแนะว่าสมเสร็จที่อาศัยอยู่ในอเมริกาเหนือสมัยไพลสโตซีนอาจมาจากชนิดในอเมริกาใต้ที่อพยพขึ้นเหนือใหม่ ซึ่งอาจเป็นชนิดจาก Tapirus cristatellus[7]

สมเสร็จประสบกับการสูญพันธุ์ขนานใหญ่ในช่วงสิ้นสุดสมัยไพลสโตซีน และสูญพันธุ์โดยสมบูรณ์จากเม็กซิโกใต้ตอนบน

ชนิดฟอสซิล

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Grubb, P. (2005). "Order Perissodactyla". ใน Wilson, D.E.; Reeder, D.M (บ.ก.). Mammal Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference (3rd ed.). Johns Hopkins University Press. p. 633. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494.
  2. 2.0 2.1 Groves, C.P.; Grubb, P. (2011). Ungulate Taxonomy (PDF). Baltimore, Maryland: Johns Hopkins University Press. pp. 18–20. ISBN 978-1-4214-0093-8. LCCN 2011008168. OCLC 708357723. OL 25220152M. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-26.
  3. 3.0 3.1 3.2 Hulbert, Richard C. (2010). "A new early Pleistocene tapir (Mammalia: Perissodactyla) from Florida, with a review of Blancan tapirs from the state" (PDF). Bulletin of the Florida Museum of Natural History. 49 (3): 67–126. doi:10.58782/flmnh.ezjr9001.
  4. ผสมเสร็จ จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  5. Ruiz-García, Manuel; Castellanos, Armando; Bernal, Luz Agueda; Pinedo-Castro, Myreya; Kaston, Franz; Shostell, Joseph M. (2016-03-01). "Mitogenomics of the mountain tapir (Tapirus pinchaque, Tapiridae, Perissodactyla, Mammalia) in Colombia and Ecuador: Phylogeography and insights into the origin and systematics of the South American tapirs". Mammalian Biology (ภาษาอังกฤษ). 81 (2): 163–175. Bibcode:2016MamBi..81..163R. doi:10.1016/j.mambio.2015.11.001. ISSN 1616-5047.
  6. "All About the Terrific Tapir | Tapir Specialist Group". Tapir Specialist Group (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2018-12-01.
  7. 7.0 7.1 Holanda, E.C.; Ferrero, B.S. (2012). "Reappraisal of the Genus Tapirus (Perissodactyla, Tapiridae): Systematics and Phylogenetic Affinities of the South American Tapirs". Journal of Mammalian Evolution. 20: 33–44. doi:10.1007/s10914-012-9196-z. hdl:11336/18792. S2CID 254697945.
  8. Holanda, E.C.; Rincón, A.D. (2012). "Tapirs from the Pleistocene of Venezuela". Acta Palaeontologica Polonica. 57 (3): 463–473. doi:10.4202/app.2011.0001. S2CID 54846719.
  9. 9.0 9.1 Tong, H. (2002). "On fossil remains of Early Pleistocene tapir (Perissodactyla, Mammalia) from Fanchang, Anhui". Chinese Science Bulletin. 47 (7): 586–590. Bibcode:2002ChSBu..47..586T. doi:10.1360/02tb9135. S2CID 128416226.
Kembali kehalaman sebelumnya