Share to:

 

สมัยพาลีโอซีน

สมัยพาลีโอซีน
66.0 – 56.0 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
การสะกดแบบอื่นPalaeocene
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลาสมัย
หน่วยลำดับชั้นหินหินสมัย
เสนอครั้งแรกโดยWilhelm Philipp Schimper, 1874
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างชั้นซึ่งอุดมไปด้วยธาตุอิริเดียมซึ่งเกี่ยวข้องกับการชนครั้งใหญ่ของอุกกาบาตและเป็นเหตุให้เกิดเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีนตามมา[2]
ขอบล่าง GSSPแหล่งเอลเคฟ เอลเคฟ ประเทศตูนิเซีย
36°09′13″N 8°38′55″E / 36.1537°N 8.6486°E / 36.1537; 8.6486[2]
การอนุมัติ GSSP1991[2]
คำนิยามขอบบนความผิดปกติเชิงลบอย่างรุนแรงในค่า δ13C ใน PETM[3]
ขอบบน GSSPแหล่งดาบาบียา ลักซอร์ ประเทศอียิปต์[3]
25°30′00″N 32°31′52″E / 25.5000°N 32.5311°E / 25.5000; 32.5311
การอนุมัติ GSSP2003[3]
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในสมัยพาลีโอซีน

สมัยพาลีโอซีน (อังกฤษ: Paleocene) เป็นสมัยหนึ่งของยุคพาลีโอจีนในธรณีกาลระหว่าง 66 ถึง 56 ล้านปีก่อนถึงปัจจุบัน

สมัยไพลโอซีนเป็นสมัยแรกสุดของยุคพาลีโอจีน ซึ่งเป็นยุคแรกของมหายุคซีโนโซอิก สมัยพาลีโอซีนต่อมาจากยุคครีเทเชียสและตามด้วยสมัยอีโอซีน

ชื่อสมัยไพลโอซีนมาจากรีกโบราณซึ่งหมายถึง เก่า(παλαιός, palaios) "ใหม่" (καινός, kainos)[4]

ลักษณะ

โลกร้อนขึ้นปกคลุมด้วยป่าดิบ ทวีปกระจายตัวออกจากกันในทวีปยุโรปเอเชียและอเมริกาเหนือ มีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ยังมีขนาดเล็กตัวใหญ่ที่สุดมีขนาดประมาณหมีขนาดเล็ก อาศัยร่วมกับนกนักล่าขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย อินเดียทีแยกห่างออกไปเป็นที่แพร่พันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีถุงหน้าท้องที่เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ออกลูกเป็นไข่[5]

อ้าวอิง

  1. "International Chronostratigraphic Chart". International Commission on Stratigraphy.
  2. 2.0 2.1 2.2 Molina, Eustoquio; Alegret, Laia; Arenillas, Ignacio; José A. Arz; Gallala, Njoud; Hardenbol, Jan; Katharina von Salis; Steurbaut, Etienne; Vandenberghe, Noel; Dalila Zaghibib-Turki (2006). "The Global Boundary Stratotype Section and Point for the base of the Danian Stage (Paleocene, Paleogene, "Tertiary", Cenozoic) at El Kef, Tunisia - Original definition and revision" (PDF). Episodes. 29 (4): 263–278. doi:10.18814/epiiugs/2006/v29i4/004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 December 2012. สืบค้นเมื่อ 14 September 2012.
  3. 3.0 3.1 3.2 Aubry, Marie-Pierre; Ouda, Khaled; Dupuis, Christian; William A. Berggren; John A. Van Couvering; Working Group on the Paleocene/Eocene Boundary (2007). "The Global Standard Stratotype-section and Point (GSSP) for the base of the Eocene Series in the Dababiya section (Egypt)" (PDF). Episodes. 30 (4): 271–286. doi:10.18814/epiiugs/2007/v30i4/003.
  4. "Paleocene". Online Etymology Dictionary.
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-20. สืบค้นเมื่อ 2017-04-27.


Kembali kehalaman sebelumnya