Share to:

 

อุดมการณ์

อุดมการณ์ (อังกฤษ: ideology; /ˌʌɪdɪˈɒlədʒi/) เป็นกลุ่มของความเชื่อหรือปรัชญาที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลยึดถือ โดยเฉพาะยึดถือเป็นเหตุผลที่ไม่ได้เป็นญาณวิทยาบริสุทธิ์,[1][2] in which "practical elements are as prominent as theoretical ones."[3] อุดมการณ์ในอดีตนั้นใช้ในทฤษฎีและนโยบายทางเศรษฐศาสตร์, การเมือง หรือศาสนา ในธรรมเนียมที่ย้อนกลับไปถึงคาร์ล มารกซ์ และ เฟรนดริก เอนเจิลส์ งานเขียนในยุคใหม่ ๆ นิยมใช้มันในทางประณามและวิจารณ์มากกว่า[4]

คำว่า Ideology นั้นริเริ่มขึ้นโดย Antoine Destutt de Tracy ปราชญ์ชนชั้นปกครองและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส เมื่อปี ค.ศ. 1796 โดยให้นิยามว่าเป็น "ศาสตร์แห่งแนวคิด" (science of ideas) เพื่อพัฒนาระบบเหตุผลของแนวสำหรับต่อต้านแรงผลักดันซึ่งไร้เหตุผลของฝูงชน ในมุมมองทางรัฐศาสตร์ คำนี้ถูกใช้ในเชิงอธิบาย มากกว่าที่จะใช้สื่อถึงระบบความเชื่อทางการเมือง[4]

อ้างอิง

  1. Honderich, Ted (1995). The Oxford Companion to Philosophy. Oxford University Press. p. 392. ISBN 978-0-19-866132-0.
  2. "ideology". Lexico. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-11.
  3. Cranston, Maurice. [1999] 2014. "Ideology" (revised). Encyclopædia Britannica.
  4. 4.0 4.1 van Dijk, T. A. (2006). "Politics, Ideology, and Discourse" (PDF). Discourse in Society. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-08. สืบค้นเมื่อ 2019-01-28.
Kembali kehalaman sebelumnya