เดเอ็ฟเบ-โพคาล หรือ เยอรมันคัพ (เยอรมัน : Deutscher Fußball-Bund-Pokal, Deutsche Tasse ; อังกฤษ : DFB-Pokal, German Cup ) [ 1] [ 2] เป็นฟุตบอลถ้วยของประเทศเยอรมนี เริ่มจัดในปี ค.ศ. 1934 เดิมชื่อ ชาเมอร์-โพคาล โดยมีสโมสรเข้าร่วม 64 สโมสร จาก 36 สโมสรของบุนเดิสลีกา และซไวเทอบุนเดิสลีกา เยอรมัน และ 4 อันดับสูงสุดของดริทเทอลีกา จะได้เข้ารอบแรกโดยอัตโนมัติ ส่วนอีก 21 สโมสรที่เหลือจะมาจากสโมสรแชมป์ฟุตบอลถ้วยของภูมิภาคต่าง ๆ ส่วนอีก 3 สโมสรที่เหลือจะมาจากสมาพันธ์ภูมิภาคที่มีสโมสรฟุตบอลชายมากที่สุด สำหรับทีมสำรองของสโมสรต่าง ๆ ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมการแข่งขัน ถือเป็นถ้วยที่มีความสำคัญมากที่สุดเป็นอันดับสองของฟุตบอลเยอรมันรองจากแชมป์บุนเดสลีกา จัดการแข่งขันขึ้นตั้งแต่เดือนสิงหาคมจนถึงเดือนพฤษภาคม ผู้ชนะจะได้สิทธิ์ไปเล่น DFL-Supercup และ ยูฟ่ายูโรปาลีก เว้นแต่ผู้ชนะได้สิทธิ์ไปเล่น ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ในบุนเดสลีกาแล้ว
ถ้วยรางวัล DFB-Pokal
การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศชาเมอร์-โพคาล
การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศเดเอ็ฟเบ-โพคาล
ปี
ชนะเลิศ
รองชนะเลิศ
ผลคะแนน
วันที่
เมือง
ผู้ชม
1953
รอต ไวส์ เอสเซน
อเลมานเนีย อาเคน
2–1
01/05/53
ดัสเซลคอร์ฟ
40,000
1954
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
เอฟเซ โคโลญ
1–0 ET
17/04/54
ลุดวิกส์ฮาเฟน
60,000
1955
คาร์สรูห์ เอสเซ
ชัลเคอ 04
3–2
21/05/55
บรันสวิก
25,000
1956
คาร์สรูห์ เอสเซ
ฮัมบวร์ค เอสเฟา
3–1
05/08/56
คาร์ลสรู
25,000
1957
ไบเอิร์นมิวนิก
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
1–0
29/12/57
ออกสบูร์ก
42,000
1958
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
4–3 ET
16/10/58
คาสเซล
28,000
1959
ชวาร์ซ ไวส์ เอสเซน
โบรุสเซีย นินเคอร์เชน
5–2
27/12/59
คาสเซล
20,000
1960
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
คาร์สรูห์ เอสเซ
3–2
05/10/60
ดัสเซลคอร์ฟ
50,000
1961
แวร์เดอร์เบรเมิน
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
2–0
13/09/61
เกลเซนเคอเชน
18,000
1962
เนือร์นแบร์ค
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
2–1 ET
29/08/62
ฮันโนเฟอร์
41,000
1963
ฮัมบวร์ค
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
3–0
14/08/63
ฮันโนเฟอร์
68,000
1964
1860 มิวนิก
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
2–0
13/06/64
สตุทท์การ์ดต
45,000
1965
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
อเลมานเนีย อาเคน
2–0
22/05/65
ฮันโนเฟอร์
55,000
1966
ไบเอิร์นมิวนิก
เอมเอสเฟา ดุยส์บวรก
4–2
04/06/66
แฟรงก์เฟิร์ต
62,000
1967
ไบเอิร์นมิวนิก
ฮัมบวร์ค
4–0
10/06/67
สตุทท์การ์ดต
67,000
1968
เอฟเซ โคโลญ
เฟาเอฟเอล โบคุม
4–1
09/06/68
ลุดวิกส์ฮาเฟน
60,000
1969
ไบเอิร์นมิวนิก
ชัลเคอ 04
2–1
14/06/69
แฟรงก์เฟิร์ต
60,000
1970
คิกเกอร์ ออฟเฟนบาค
เอฟเซ โคโลญ
2–1
29/08/70
ฮันโนเฟอร์
50,000
1971
ไบเอิร์นมิวนิก
เอฟเซ โคโลญ
2–1 ET
19/06/71
สตุทท์การ์ดต
71,000
1972
ชัลเคอ 04
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
5–0
01/07/72
ฮันโนเฟอร์
61,000
1973
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
เอฟเซ โคโลญ
2–1 ET
23/06/73
ดัสเซลคอร์ฟ
69,000
1974
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
ฮัมบวร์ค
3–1 ET
17/08/74
ดัสเซลคอร์ฟ
52,000
1975
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
เอมเอสเฟา ดุยส์บวรก
1–0
21/06/75
ฮันโนเฟอร์
43,000
1976
ฮัมบวร์ค
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
2–0
26/06/76
แฟรงก์เฟิร์ต
61,000
1977
เอฟเซ โคโลญ
แฮร์ธา เบอร์ลิน
1–1 ET 1–0 RM
28/05/77 30/05/77
ฮันโนเฟอร์
54,000 35,000
1978
เอฟเซ โคโลญ
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
2–0
15/04/78
เกลเซนเคอเชน
70,000
1979
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
แฮร์ธา เบอร์ลิน
1–0 ET
23/06/79
ฮันโนเฟอร์
56,000
1980
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
เอฟเซ โคโลญ
2–1
04/06/80
เกลเซนเคอเชน
56,000
1981
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
3–1
02/05/81
สตุทท์การ์ดต
71,000
1982
ไบเอิร์นมิวนิก
เนือร์นแบร์ค
4–2
01/05/82
แฟรงก์เฟิร์ต
61,000
1983
เอฟเซ โคโลญ
ฟอร์ทูนา โคโลญ
1–0
11/06/83
โคโลญ
61,000
1984
ไบเอิร์นมิวนิก
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
1–1 (7–6 PSO)
31/05/84
แฟรงก์เฟิร์ต
61,000
1985
ไบเออร์ อูเออร์ดินเกน
ไบเอิร์นมิวนิก
2–1
26/05/85
เบอร์ลิน
70,000
1986
ไบเอิร์นมิวนิก
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
5–2
03/05/86
เบอร์ลิน
76,000
1987
ฮัมบวร์ค
สตุ๊ทการเทอร์ คิกเกอร์
3–1
20/06/87
เบอร์ลิน
76,000
1988
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
โบคุม
1–0
28/05/88
เบอร์ลิน
76,000
1989
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
แวร์เดอร์เบรเมิน
4–1
24/06/89
เบอร์ลิน
76,000
1990
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
แวร์เดอร์เบรเมิน
3–2
19/05/90
เบอร์ลิน
76,000
1991
แวร์เดอร์เบรเมิน
เอฟเซ โคโลญ
1–1 (4–3 PSO)
22/06/91
เบอร์ลิน
73,000
1992
ฮันโนเฟอร์ 96
มึนเชนกลัดบัค
0–0 (4–3 PSO)
23/05/92
เบอร์ลิน
76,000
1993
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน
แฮร์ธา เบอร์ลิน 2
1–0
12/06/93
เบอร์ลิน
76,000
1994
แวร์เดอร์เบรเมิน
รอต ไวส์ เอสเซน
3–1
14/05/94
เบอร์ลิน
76,000
1995
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
เฟาเอฟเอล โวล์ฟบวร์ก
3–0
24/06/95
เบอร์ลิน
75,700
1996
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
คาร์ลสรูห์
1–0
25/05/96
เบอร์ลิน
75,800
1997
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
เอเนอร์กี คอตบุส
2–0
14/06/97
เบอร์ลิน
76,400
1998
ไบเอิร์นมิวนิก
เอมเอสเฟา ดุยส์บวรก
2–1
16/05/98
เบอร์ลิน
75,800
1999
แวร์เดอร์เบรเมิน
ไบเอิร์นมิวนิก
1–1 (5–4 PSO)
12/06/99
เบอร์ลิน
75,841
2000
ไบเอิร์นมิวนิก
แวร์เดอร์เบรเมิน
3–0
06/05/00
เบอร์ลิน
76,000
2001
ชัลเคอ 04
ยูเนียน เบอร์ลิน
2–0
26/05/01
เบอร์ลิน
73,011
2002
ชัลเคอ 04
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน
4–2
11/05/02
เบอร์ลิน
70,000
2003
ไบเอิร์นมิวนิก
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
3–1
31/05/03
เบอร์ลิน
70,490
2004
แวร์เดอร์เบรเมิน
อเลมานเนีย อาเคน
3–2
29/05/04
เบอร์ลิน
71,682
2005
ไบเอิร์นมิวนิก
ชัลเคอ 04
2–1
28/05/05
เบอร์ลิน
74,349
2006
ไบเอิร์นมิวนิก
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
1–0
29/04/06
เบอร์ลิน
74,349
2007
เนือร์นแบร์ค
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
3–2 ET
26/05/07
เบอร์ลิน
74,220
2008
ไบเอิร์นมิวนิก
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
2–1 ET
19/04/08
เบอร์ลิน
74,244
2009
แวร์เดอร์เบรเมิน
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน
1–0
30/05/09
เบอร์ลิน
72,244
2010
ไบเอิร์นมิวนิก
แวร์เดอร์เบรเมิน
4–0
15/05/10
เบอร์ลิน
72,954
2011
ชัลเคอ 04
เอมเอสเฟา ดุยส์บวรก
5–0
21/05/11
เบอร์ลิน
75,708
2012
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
ไบเอิร์นมิวนิก
5–2
12/05/12
เบอร์ลิน
75,708
2013
ไบเอิร์นมิวนิก
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
3–2
01/06/13
เบอร์ลิน
75,420
2014
ไบเอิร์นมิวนิก
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
2–0
01/06/14
เบอร์ลิน
76,197
2015
เฟาเอฟเอล ว็อลฟส์บูร์ก
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
3–1
30/05/15
เบอร์ลิน
75,815
2016
ไบเอิร์นมิวนิก
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
0–0 (4–3 PSO)
21/05/16
เบอร์ลิน
74,322
2017
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
2–1
28/05/17
เบอร์ลิน
76,922
2018
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
ไบเอิร์นมิวนิก
3–1
19/05/18
เบอร์ลิน
74,322
2019
ไบเอิร์นมิวนิก
แอร์เบ ไลพ์ซิช
3–0
25/05/19
เบอร์ลิน
74,322
2020
ไบเอิร์นมิวนิก
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
4–2
04/07/20
เบอร์ลิน
0[ nb 1]
2021
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
แอร์เบ ไลพ์ซิช
4–1
13/05/21
เบอร์ลิน
0[ nb 2]
2022
แอร์เบ ไลพ์ซิช
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
1–1 (4–2 PSO)
21/05/22
เบอร์ลิน
74,322
2023
แอร์เบ ไลพ์ซิช
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท
2–0
03/06/23
เบอร์ลิน
74,322
2024
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน
แอร์สเทอร์ เอ็ฟเซ ไคเซิร์สเลาเทิร์น
1–0
25/05/24
เบอร์ลิน
74,322
ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสร
สโมสร
ชนะเลิศ
รองชนะเลิศ
ปีที่ชนะเลิศ
ปีรองชนะเลิศ
ไบเอิร์นมิวนิก
20
4
1957, 1966, 1967, 1969, 1971, 1982, 1984, 1986, 1998, 2000, 2003, 2005, 2006, 2008, 2010, 2013, 2014, 2016, 2019, 2020
1985, 1999, 2012, 2018
แวร์เดอร์เบรเมิน
6
4
1961, 1991, 1994, 1999, 2004, 2009
1989, 1990, 2000, 2010
ชัลเคอ 04
5
7
1937, 1972, 2001, 2002, 2011
1935, 1936, 1941, 1942, 1955, 1969, 2005
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
5
5
1965, 1989, 2012, 2017, 2021
1963, 2008, 2014, 2015, 2016
ไอน์ทรัคท์ แฟรงค์เฟิร์ต
5
4
1974, 1975, 1981, 1988, 2018
1964, 2006, 2017, 2023
แอร์สเทอร์เอฟเซเคิล์น
4
6
1968, 1977, 1978, 1983
1954, 1970, 1971, 1973, 1980, 1991
เนือร์นแบร์ค
4
2
1935, 1939, 1962, 2007
1940, 1982
เฟาเอฟเบ สตุ๊ทการ์ท
3
3
1954, 1958, 1997
1986, 2007, 2013
ฮัมบวร์ค
3
3
1963, 1976, 1987
1956, 1967, 1974
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค
3
2
1960, 1973, 1995
1984, 1992
ไกเซอร์สเลาเทิร์น
2
6
1990, 1996
1961, 1972, 1976, 1981, 2003, 2024
ฟอร์ทูนา ดุสเซนดอร์ฟ
2
5
1979, 1980
1937, 1957, 1958, 1962, 1978
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซน
2
3
1993, 2024
2002, 2009, 2020
คาร์สรูห์ เอสเซ
2
2
1955, 1956
1960, 1996
แอร์เบ ไลพ์ซิช
2
2
2022, 2023
2019, 2021
ดิสดาย
2
–
1940, 1941
–
1860 มิวนิก
2
–
1942, 1964
–
รอต ไวส์ เอสเซน
1
1
1953
1994
ว็อลฟส์บูร์ก
1
1
2015
1995
วีเอฟบี ไลซ์ซิก
1
–
1936
–
ราปิด เวียนนา
1
–
1938
–
เฟริส เวียนนา
1
–
1943
–
ชวาร์ซ ไวส์ เอสเซน
1
–
1959
–
คิกเกอร์ ออฟเฟนบาค
1
–
1970
–
ไบเออร์ อูเออร์ดินแกน
1
–
1985
–
ฮันโนเฟอร์96
1
–
1992
–
เอ็มเอสเฟา ดุ๊ยส์บวร์ก
–
4
–
1966, 1975, 1998, 2011
อเลมานเนีย อาเคน
–
3
–
1953, 1965, 2004
เฟาเอฟแอล โบคุม
–
2
–
1968, 1988
แฮร์ทา เบเอ็สเซ
–
2
–
1977, 1979
เอฟเอสเฟา ฟรังค์ฟวร์ท
–
1
–
1938
มันไฮม์
–
1
–
1939
ลุคทามนา ฮัมบวร์ค
–
1
–
1943
โบรุสเซีย นินเคอร์เชน
–
1
–
1959
ฟอร์ทูนา โคโลญ
–
1
–
1983
ชตุทการ์เทอร์คิคเคิร์ส
–
1
–
1987
เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
–
1
–
2022
แฮร์ทา เบเอ็สเซ 2
–
1
–
1993
เอเนอร์กี ค็อตบุส
–
1
–
1997
ยูเนียน เบอร์ลิน
–
1
–
2001
หมายเหตุ
อ้างอิง
↑ Sebastian Schneider (21 May 2016). "Nur zuhause feiern wir nicht" . RBB Online (ภาษาเยอรมัน). Radio Berlin Brandenburg. สืบค้นเมื่อ 11 May 2017 . Seit 1985 wird das Pokalfinale im Olympiastadion gespielt, der DFB vergab es damals als politischen Gnadenakt in die "Frontstadt" West-Berlin
↑ Sven Goldmann (30 May 2015). "Berlin, Berlin, so feiert nur Berlin" . Der Tagesspiegel (ภาษาเยอรมัน). Der Tagesspiegel. สืบค้นเมื่อ 11 May 2017 . Am Anfang steht ein Kompensationsgeschäft. Das Olympiastadion bekommt das Pokalfinale als Trostpreis dafür, dass der DFB West-Berlin bei der Europameisterschaft 1988 außen vor lässt.
แหล่งข้อมูลอื่น
ฟุตบอลคัพแห่งชาติของทวีปยุโรป (
ยูฟ่า )
ปัจจุบัน อดีต ไม่รับรอง