Share to:

 

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2024–25

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2024–25
รายละเอียดการแข่งขัน
ทีมการแข่งขันจริง: 24 (จาก 12 สมาคม)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน72
จำนวนประตู218 (3.03 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแอลเบเนีย จาซีร์ อาซานี (7 ประตู)
2023–24
(เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก)
2025–26
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2567

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท 2024–25 (อังกฤษ: 2024–25 AFC Champions League Elite; ACLE) จะเป็นการแข่งขันฟุตบอลชั้นนำของทวีปเอเชียครั้งที่ 43 ซึ่งจัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (AFC) และครั้งที่ 1 ภายใต้ชื่อปัจจุบัน[1]

ซาอุดีอาระเบียได้รับการประกาศให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันของรอบชิงชนะเลิศในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2023[2]

การจัดสรรโควต้าทีม

สมาคมจะได้รับการจัดสรรโควต้าตามอันดับการแข่งขันของสโมสร ซึ่งเผยแพร่หลังจากการแข่งขันปี ค.ศ. 2022 เสร็จสิ้น[3]

การเข้าร่วมสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกอีลิท ฤดูกาล 2024–25
เข้าร่วม
ไม่เข้าร่วม

ทีม

Notes
  1. ^ อิหร่าน (IRN): เซปาฮาน ยังได้อันดับที่สามในโปรลีกด้วย, แต่ผ่านเข้ารอบคัดเลือกรอบเพลย์ออฟหลังจากชนะ ฮัซฟีคัพ ฤดูกาล 2023–24.
  2. ^ กาตาร์ (QAT): เพราะ อัล-ซัดด์ (ที่ได้ผ่านเข้ารอบลีกแล้วในฐานะแชมป์ กาตาร์สตาร์สลีก ฤดูกาล 2023–24) ยังได้ชนะ อีมีร์ออฟกาตาร์คัพ 2024, ดังนั้นทีมอันดับที่สอง อัล-รายยาน ก็ผ่านเข้ารอบลีกด้วย, ในขณะที่อันดับที่สาม อัล-การาฟา ผ่านเข้ารอบสำหรับรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ.
  3. ^ เกาหลีใต้ (KOR): เพราะ โพฮัง สตีลเลอส์ (ซึ่งได้ผ่านเข้ารอบลีกแล้วในฐานะรองแชมป์ เคลีก ฤดูกาล 2023 ก็ได้ชนะ โคเรียนเอฟเอคัพ 2023 ด้วย, ดังนั้นอันดับที่สาม ควังจู เอฟซี จึงผ่านเข้ารอบคัดเลือกเพลย์ออฟ. เนื่องจากทั้งผู้ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายของโซนตะวันออกใน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และ เอเอฟซีคัพ (โยโกฮามา เอฟ มารินอส และ เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอส์) ได้ผ่านเข้ารอบผ่านผลงานในประเทศแล้ว, ควังจูจึงได้รับการยืนยันในภายหลังสำหรับลีกตามอันดับที่สูงขึ้นของสมาคม,[4] เหลือสองทีมในรอบคัดเลือกรอบเพลย์ือฟสำหรับโซนตะวันออก.
  4. ^ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE): เพราะ อัล วาสล์ (ผู้ที่ได้ผ่านเข้ารอบสำหรับรอบลีกในฐานะแชมป์ ยูเออีโปรลีก ฤดูกาล 2023–24) ก็ได้ชนะ ยูเออีเพรสซิเดนท์คัพ ฤดูกาล 2023–24, ดังนั้นอันดับที่สอง ชะบับ อัล-อะห์ลี ผ่านเข้ารอบสำหรับรอบคัดเลือกรอบเพลย์ออฟ.

ตารางการแข่งขัน

ด้านล่างนี้คือตารางของการแข่งขัน.[5]

รอบ การแข่งขัน วันจับสลาก เลกแรก เลกสอง
รอบเบื้องต้น รอบเบื้องต้น รอบ 1 ไม่มีการจับสลาก[a] 6 สิงหาคม 2567
รอบเบื้องต้น รอบ 2 13 สิงหาคม 2567
รอบลีก นัดที่ 1 16 สิงหาคม 2567 16–17 กันยายน 2567 17–18 กันยายน 2567
นัดที่ 2 30 กันยายน–1 ตุลาคม 2567 1–2 ตุลาคม 2567
นัดที่ 3 21–22 ตุลาคม 2567 22–23 ตุลาคม 2567
นัดที่ 4 4–5 พฤศจิกายน 2567 5–6 พฤศจิกายน 2567
นัดที่ 5 25–26 พฤศจิกายน 2567 26–27 พฤศจิกายน 2567
นัดที่ 6 2–3 ธันวาคม 2567 3–4 ธันวาคม 2567
นัดที่ 7 3–4 กุมภาพันธ์ 2568 11–12 กุมภาพันธ์ 2568
นัดที่ 8 17–18 กุมภาพันธ์ 2568 18–19 กุมภาพันธ์ 2568
รอบ 16 ทีมสุดท้าย[b] ไม่มีการจับสลาก[a] 3–4 และ 10–11 มีนาคม 2568 4–5 และ 11–12 มีนาคม 2568
รอบสุดท้าย[c] รอบก่อนรองชนะเลิศ 14 มีนาคม 2568 25–26 เมษายน 2568
รอบรองชนะเลิศ 29–30 เมษายน 2568
รอบชิงชนะเลิศ 4 พฤษภาคม 2568

รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ

รอบเบื้องต้น

ทั้งหมด 2 ทีมลงเล่นในรอบเบื้องต้น.

โซนตะวันตก
ทีมหนึ่งผลทีมสอง
เซปาฮาน อิหร่าน1–4
(ต่อเวลา)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาบับ อัล-อาห์ลี

รอบเพลย์ออฟ

ทั้งหมด 4 ทีมที่ลงเล่นในรอบเพลย์ออฟ: 3 ทีมที่เข้าสู่ในรอบนี้, และ 1 ทีมผู้ชนะของรอบเบื้องต้น.

โซนตะวันตก
ทีมหนึ่งผลทีมสอง
อัล-การาฟา ประเทศกาตาร์1–0สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาบับ อัล-อาห์ลี
โซนตะวันออก
ทีมหนึ่งผลทีมสอง
ชานตงไท่ชาน จีน1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 4–3)
ไทย แบงค็อก ยูไนเต็ด

รอบลีก

โซนตะวันตก

ตารางคะแนน

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล (Q) 6 5 1 0 20 6 +14 16 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-อะห์ลี (Q) 6 5 1 0 14 5 +9 16
3 ซาอุดีอาระเบีย อัน-นัศร์ (Q) 6 4 1 1 13 6 +7 13
4 ประเทศกาตาร์ อัส-ซัดด์ (Q) 6 3 3 0 8 4 +4 12
5 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล วาสล์ (Q) 6 3 2 1 8 6 +2 11
6 อิหร่าน เพอร์เซโพลิส 6 1 3 2 5 6 −1 6
7 ประเทศกาตาร์ อัล-รายยาน 6 1 2 3 6 9 −3 5
8 อิหร่าน เอสเตห์กัล 6 1 2 3 5 8 −3 5
9 อุซเบกิสถาน ปัคทาคอร์ 6 0 4 2 2 4 −2 4
10 ประเทศกาตาร์ อัล-การาฟา 6 1 1 4 7 14 −7 4
11 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ไอน์ 6 0 2 4 10 18 −8 2
12 อิรัก อัล-ชอร์ตา 6 0 2 4 4 16 −12 2
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) จำนวนประตูที่ทำได้; 4) จำนวนนัดที่ชนะ; 5) ดวลลูกโทษชี้ขาดถ้าสองทีมที่เหลือเท่านั้นมีผลเสมอและลงเล่นพบกับทีมอื่นในแมตช์เดย์สุดท้าย แมตช์เดย์ที่ 6) อันดับแฟร์เพลย์; 7) จำนวนเสมอ
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
ผลการแข่งขัน

โซนตะวันออก

ตารางคะแนน

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 6 4 1 1 20 9 +11 13 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2 เกาหลีใต้ ควังจู 6 4 1 1 13 7 +6 13
3 ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 6 4 1 1 10 6 +4 13
4 ญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล 6 4 0 2 11 4 +7 12
5 เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์ 6 3 0 3 11 10 +1 9
6 มาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 6 2 2 2 9 6 +3 8
7 จีน เซี่ยงไฮ้พอร์ต 6 2 2 2 10 12 −2 8
8 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 2 2 2 3 9 −6 8
9 จีน เซี่ยงไฮ้เซินหัว 6 2 1 3 9 9 0 7
10 จีน ชานตงไท่ชาน 6 2 1 3 9 13 −4 7
11 เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 6 1 0 5 3 14 −11 3
12 ออสเตรเลีย เซ็นทรัล โคสต์ มารีเนอร์ส (E) 6 0 1 5 8 17 −9 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) จำนวนประตูที่ทำได้; 4) จำนวนนัดที่ชนะ; 5) ดวลลูกโทษชี้ขาดถ้าสองทีมที่เหลือเท่านั้นมีผลเสมอและลงเล่นพบกับทีมอื่นในแมตช์เดย์สุดท้าย แมตช์เดย์ที่ 6) อันดับแฟร์เพลย์; 7) จำนวนเสมอ
(E) ตกรอบ
ผลการแข่งขัน

อันดับดาวซัลโว

ณ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2567
  ทีมนั้นตกรอบ / ไม่ได้อยู่ในรอบนี้.
  ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในทีม ณ เวลานั้นแต่ทีมยังมีสถานะอยู่สำหรับรอบนี้.
อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 MD6 MD7 MD8 R16-1 R16-2 QF SF F รวม
1 แอลเบเนีย จาซีร์ อาซานี เกาหลีใต้ ควังจู 3 1 2 1 7
2 บราซิล อังเดร์ซง โลเปส ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 1 1 2 1 1 6
3 บราซิล เอลแบร์ ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 1 1 2 1 5
เซอร์เบีย อาเล็กซานดาร์ มิตรอวิช ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1 3 1
โมร็อกโก ซุฟียาน ระฮิมี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล ไอน์ 1 3 1
อาร์เจนตินา มาติอัส วาร์กัส จีน เซี่ยงไฮ้ พอร์ต 1 1 3
7 มาเลเซีย อาริฟ ไอมาน มาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 2 1 1 4
ซาอุดีอาระเบีย ซาเล็ม อัล-ดอว์ซารี ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1 3
ญี่ปุ่น ไทเซอิ มิยาชิโระ ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 1 2 1
โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด ซาอุดีอาระเบีย อันนัศร์ 1 1 2
อังกฤษ อิวาน โทนีย์ ซาอุดีอาระเบีย อัล-อะฮ์ลี 2 2
15 ประเทศกาตาร์ อัคราม อะฟิฟ ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์ 1 1 1 3
ญี่ปุ่น เคนตะ อิโนอูเอะ ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 1 2
สเปน โฆเซลู ประเทศกาตาร์ อัล-ฆ็อรรอฟะฮ์ 2 1
บราซิล มาร์กอส เลโอนาร์โด ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1 1 1
บราซิล อันเดร ลูอีส จีน เซี่ยงไฮ้ เซินหัว 1 1 1
แอลจีเรีย ริยาฎ มะห์รัซ ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1 2
เซอร์เบีย เซร์เกย์ มิลีงกอวิช-ซาวิช ซาอุดีอาระเบีย อัล ฮิลาล 1 1 1
ญี่ปุ่น ไดจู ซาซากิ ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 1 1 1
หมายเหตุ
  • ประตูที่ทำได้ในการคัดเลือกเพลย์ออฟและแมตช์การแข่งขันที่เป็นโมฆะโดย เอเอฟซี จะไม่นับรวมก็ต่อเมื่อมีการกำหนดอันดับดาวซัลโว (ดูที่กฏระเบียบ บทความที่ 64.4)

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 Pre-determined format
  2. two-legged ties
  3. centralized venue in Saudi Arabia

อ้างอิง

  1. "AFC Executive Committee approves biggest prize purse in Asian club football history from 2024/25; announces AFC Women's Champions League". AFC. 14 August 2023.
  2. "Saudi Arabia to host AFC Champions League Elite – Final Stage". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-12-01.
  3. "AFC Club Competitions Ranking". the-afc.com. Asian Football Confederation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-07. สืบค้นเมื่อ 2021-12-10.
  4. "광주FC - GWANGJU FOOTBALL CLUB". www.gwangjufc.com (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ 2024-04-24.
  5. "AFC Competitions Committee approves key decisions on reformatted competitions". AFC. 1 July 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya