สำหรับแผนภูมิแสดงสถิติจากการสังเกตภูมิอากาศ ณ สถานที่หนึ่ง ๆ นั้น มีแถบสีแดงสำหรับแสดงอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดในแต่ละเดือน แถบสีฟ้าแสดงปริมาณน้ำฝนและหยาดน้ำฟ้า (น้ำฝนรวมถึงหิมะและลูกเห็บ)โดยเฉลี่ยในแต่ละเดือน เส้นจาง ๆ สีเทา เป็นเส้นสำหรับอ้างอิงที่จุดเยือกแข็งของน้ำ ( 0 องศาเซลเซียสหรือ 32 องศาฟาเรนไฮต์)
แผนภูมิแสดงสภาพภูมิอากาศของ |
โตเกียว
(วิธีอ่าน) |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร |
|
แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาฟาเรนไฮต์ |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นนิ้ว |
|
แผนภูมิแสดงสภาพภูมิอากาศของ |
ลาบวน
(วิธีอ่าน) |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร |
|
แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาฟาเรนไฮต์ |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นนิ้ว |
|
แผนภูมิแสดงสภาพภูมิอากาศของ |
กุสโก
(วิธีอ่าน) |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร |
|
แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ |
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
อุณหภูมิ วัดเป็นองศาฟาเรนไฮต์ |
ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นนิ้ว |
|
จากตารางเราจะเห็นได้ว่า เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นมีอากาศเย็นถึงค่อนข้างอบอุ่น ช่วงอุณหภูมิสูงสุดอยู่ในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม ซึ่งซีกโลกเหนือหันเอนเข้าหาดวงอาทิตย์ ในเมืองลาบวน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร อุณหภูมิแทบจะไม่เปลี่ยนแปลงเลย มีฤดูแล้งสั้น ๆ ช่วงต้นปี ตามด้วยฤดูฝนที่มีฝนมาก ส่วนในเมืองกุสโก ประเทศเปรู ซึ่งอยู่ในเขตศูนย์สูตรแต่เป็นที่สูง สภาพอากาศก็ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก แต่ปริมาณฝนยังนับว่าน้อยกว่าเมืองลาบวน