Share to:

 

ไอเสีย

ไอเสียจากการเผาน้ำมันดีเซลจากรถบรรทุกขนาดใหญ่ ควันดำอาจจะเกิดขึ้นเมื่อเปิดเครื่องเท่านั้น

ไอเสีย เป็นแก๊สจากปล่องควันที่ปล่อยออกมาเนื่องจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซลีน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา หรือถ่านหิน เครื่องยนต์จะปล่อยไอเสียออกสู่บรรยากาศผ่านท่อไอเสีย ปล่องควัน หรือหัวฉีดกังหันแล้วแต่ชนิดของเครื่องยนต์ ไอเสียจะกระจายตามทิศทางลม เรียกว่า "ควันไอเสีย" (exhaust plume)

ไอเสียเป็นส่วนประกอบหลักในการปล่อยไอเสียในยานพาหนะที่ใช้มอเตอร์ (และจากเครื่องยนต์สันดาปภายใน) ซึ่งรวมถึง

การปล่อยไอเสียในยานพาหนะที่ใช้มอเตอร์ส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศและเป็นส่วนประกอบหลักที่ทำให้เกิดหมอกควันในเมืองใหญ่[1][2][3][4] จากการศึกษาของ MIT ปี ค.ศ. 2013 ระบุว่า มีผู้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรถึง 53,000 คนต่อปีในสหรัฐอเมริกาประเทศเดียว สาเหตุมาจากการปล่อยไอเสียจากยานพาหนะ[5] จากข้อมูลการศึกษาของมหาลัยเดียวกันนี้พบว่า ควันไอเสียจากการจราจรคร่าชีวิตคน 5,000 คนต่อปีในสหราชอาณาจักร[6]


อ้างอิง

  1. "EPA Tools Available as Summer Smog Season Starts" (Press release). Boston, Massachusetts: United States Environmental Protection Agency. 30 April 2008.
  2. "Sprawl Report 2001: Measuring Vehicle Contribution to Smog". Sierra Club. 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-11-15. สืบค้นเมื่อ 2014-10-11.
  3. "Smog - Causes". The Environment: A Global Challenge. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-01-19. สืบค้นเมื่อ 25 October 2013.
  4. "Smog — Who Does It Hurt? What You Need to Know About Ozone and Your Health (EPA-452/K-99-001)" (PDF). United States Environmental Protection Agency. July 1999 {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  5. Caiazzo, Fabio; Ashok, Akshay; Waitz, Ian A.; Yim, Steve H.L.; Barrett, Steven R.H. (November 2013). "Air pollution and early deaths in the United States. Part I: Quantifying the impact of major sectors in 2005". Atmospheric Environment. Elsevier. 79: 198–208. Bibcode:2013AtmEn..79..198C. doi:10.1016/j.atmosenv.2013.05.081. สืบค้นเมื่อ 25 October 2013.
  6. By Roland Pease. "Traffic pollution kills 5,000 a year in UK, says study". BBC News.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya