Share to:

 

ไอโซเมอร์

ไอโซเมอร์ (อังกฤษ: Isomer) เป็นโมเลกุลที่มีสูตรเคมีเหมือนกันแต่มีโครงสร้างทางเคมีต่างกัน[1] ไอโซเมอร์ 2 ตัวไม่จำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติคล้ายกัน เว้นแต่ว่าไอโซเมอร์ทั้งสองจะอยู่ในหมู่ฟังก์ชันเดียวกัน ไอโซเมอร์มีหลายชนิดเช่น stereoisomers, enantiomers, geometrical isomers, เป็นต้น

ไอโซเมอร์ชนิดต่างๆ

ตัวอย่าง

โพรพานอล (Propanol)

โพรพานอลมีสูตรเคมี C3H8O (หรือ C3H7OH) และพบได้ 2 ไอโซเมอร์: propan-1-ol (n-propyl alcohol; I) และ propan-2-ol (isopropyl alcohol; II)

isomers of propanol

หมายเหตุตำแหน่งอะตอมของออกซิเจน นั้นแตกต่างระหว่างไอโซเมอร์ทั้งสอง: ในไอโซเมอร์แรกอะตอมของออกซิเจนติดกับคาร์บอนตัวปลาย ขณะที่ในไอโซเมอร์ที่ 2 อะตอมของออกซิเจนจะติดกับคาร์บอนตัวกลาง

อย่างไรก็ตาม C3H8O ยังมีอีกไอโซเมอร์ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันมาก ไอโซเมอร์ที่สามคือ: methoxyethane (methyl-ethyl-ether; III) ซึ่งเป็นอีเทอร์ ไม่ใช่แอลกอฮอล์ และก็ไม่มีกลุ่ม ไฮดรอกซิล คุณสมบัติทางเคมีของ methoxyethane ก็จะคล้ายกับ ethers ตัวอื่นๆมากกว่าโพรพานอล

อ้างอิง

  1. The word “isomer” was coined by Swedish chemist Jöns Jacob Berzelius (1779-1848) in 1830. See: Jac. Berzelius (1830) “Om sammansättningen af vinsyra och drufsyra (John’s säure aus den Voghesen), om blyoxidens atomvigt, samt allmänna anmärkningar om sådana kroppar som hafva lika sammansättning, men skiljaktiga egenskaper” (On the composition of tartaric acid and racemic acid (John's acid of the Vosges), on the molecular weight of lead oxide, together with general observations on those bodies that have the same composition but different properties) Kongliga Svenska Vetenskaps Academiens Handling (Transactions of the Royal Swedish Science Academy), vol. 49, pages 49-80; see especially page 70. Reprinted in German in: J.J. Berzelius (1831) “Über die Zusammensetzung der Weinsäure und Traubensäure (John's säure aus den Voghesen), über das Atomengewicht des Bleioxyds, nebst allgemeinen Bemerkungen über solche Körper, die gleiche Zusammensetzung, aber ungleiche Eigenschaften besitzen," Annalen der Physik und Chemie, vol. 19, pages 305-335; see especially page 326. Reprinted in French in: J.J. Berzelius (1831) “Composition de l’acide tartarique et de l’acide racémique (traubensäure); poids atomique de l’oxide de plomb, et remarques générals sur les corps qui ont la même composition, et possèdent des proprietés différentes,” Annales de Chimie et de Physique, vol. 46, pages 113-147; see especially page 136.


Kembali kehalaman sebelumnya