การประท้วงต่อต้านการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย การประท้วงต่อต้านการรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย |
---|
ส่วนหนึ่งของ การรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย และการเดินขบวนประท้วงของฝ่ายค้านรัสเซีย | | วันที่ | 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 (2022-02-24) — ปัจจุบัน |
---|
สถานที่ | รัสเซีย, เบลารุส, แอลเบเนีย, อาร์เจนตินา, ออสเตรเลีย, ออสเตรีย, อาร์มีเนีย, อาเซอร์ไบจาน, เบลเยียม, บัลแกเรีย, บราซิล, แคนาดา, ชิลี, โคลอมเบีย, โครเอเชีย, สาธารณรัฐเช็ก, เดนมาร์ก, เอสโตเนีย, ฟินแลนด์, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, กรีซ, จอร์เจีย, ฮ่องกง, ฮังการี, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อินโดนีเซีย, อิตาลี, ญี่ปุ่น, คาซัคสถาน, ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, ลักเซมเบิร์ก, มาเลเซีย, เม็กซิโก, มอลโดวา, นิวซีแลนด์, เนเธอร์แลนด์, นอร์เวย์, ปานามา, โปแลนด์, โปรตุเกส, ฟิลิปปินส์, โรมาเนีย, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สเปน, เกาหลีใต้, สวีเดน, ไทย, ตุรกี, สหราชอาณาจักร, สหรัฐ |
---|
สาเหตุ |
|
---|
เป้าหมาย |
|
---|
วิธีการ |
- เดินขบวน
- การเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต
- คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ
- นัดหยุดงาน
|
---|
คู่ขัดแย้ง |
---|
| ผู้นำ |
---|
| ความเสียหาย |
---|
ถูกจับกุม | 1,745 |
---|
ภายหลังเกิดการรุกรานยูเครนโดยรัสเซียในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ได้มีการประท้วงต่อต้านเกิดขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลก
ประเทศรัสเซีย
มีรายงานชาวรัสเซียอย่างน้อย 705 คนใน 40 นครทั่วรัสเซียถูกควบคุมตัวโดยตำรวจหลังทำการประท้วงต่อต้านการรุกรานของรัสเซีย[1][2] ดมีตรี มูราตอฟ ผู้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพชาวรัสเซีย ประกาศว่าหนังสือพิมพ์ โนวายากาเซตา จะตีพิมพ์ทั้งภาษารัสเซียและยูเครนในฉบับถัดไป นอกจากนี้เขา, นักข่าวมีฮาอิล ซืยการ์, ผู้กำกับภาพยนตร์วลาดีมีร์ มีร์โซเยฟ และบุคคลอื่น ๆ ได้ร่วมลงนามในประกาศในรัสเซียยกเลิกการบุกรุกยูเครน และเรียกร้องให้พลเมืองรัสเซีย "ปฏิเสธสงครามในครั้งนี้"[3] นักข่าวเอเลนา เชียร์เนนโค (Elena Chernenko) จาก คอมเมียร์ซันต์ ได้เผยแพร่จดหมายเปิดผนึกวิจารณ์การตัดสินใจบุกรุกยูเครนที่มีผู้ร่วมลงนามเป็นนักข่าวและนักวิชาการรวม 170 คน[4]
นอกประเทศรัสเซีย
มีการจัดการประท้วงสนับสนุนยูเครนขึ้นตามสถานทูตรัสเซียในอาร์มีเนีย[5] เบลเยียม[6] บัลกาเรีย[7] ฝรั่งเศส[8] ฮังการี[9] ไอซ์แลนด์[10] ไอร์แลนด์[11] เนเธอร์แลนด์[12] สหราชอาณาจักร[13] และสหรัฐ[14]
นอกจากนี้ยังมีการประท้วงในประเทศลักเซมเบิร์ก[15] ในเมืองใหญ่อย่างลอนดอน โตเกียว และปารีส[16]
ประเทศไทย
ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ กลุ่ม เฟมินิสต์ฟูฟู จัดการประท้วงต่อต้านสงครามที่สถานเอกอัครราชทูตรัสเซีย ในกรุงเทพมหานคร[17] ที่ซึ่งมีชาวยูเครนในประเทศไทยเข้าร่วมเช่นกัน[18]
อ้างอิง
- ↑ "Dozens of Russian Anti-War Picketers Detained – Reports". The Moscow Times. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "Ukraine crisis latest news: Kyiv urges EU to provide air defences as Russia invades on multiple fronts". amp.theguardian.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "Nobel Peace Prize winner, other prominent Russian figures condemn country's attack on Ukraine". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ Allsop, Jon (24 February 2022). "Propaganda, confusion, and an assault on press freedom as Russia attacks Ukraine". Columbia Journalism Review (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ ""There are people in Armenia who are against the war, Russia's imperialist policy." Protest in front of the Russian Embassy". aysor.am. 24 February 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-24. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
{{cite news}} : CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
- ↑ "Russian embassy target of Ukrainian anger". VRT (broadcaster). Brussels. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "Bulgaria: Official condemnation, public protests, against Russian invasion of Ukraine". The Sofia Globe. 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
{{cite news}} : CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ "Photos: Protesters around the world rally in support of Ukraine". www.aljazeera.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-24.
- ↑ "„Ruszkik haza, ruszkik haza!" – tüntetés a budapesti orosz nagykövetségnél". Telex.hu (ภาษาฮังการี). 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ Másson, Snorri (24 February 2022). "Mótmæli við sendiráðið: „Erfitt að lýsa þessu með orðum"" [Protest at the embassy: "It is difficult to put it into words"]. Vísir.is (ภาษาไอซ์แลนด์). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "'This is a tragedy' - Ukrainians protest outside Dáil, Russian embassy". RTÉ. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "Tientallen demonstranten voor Russische ambassade en op Plein" [Dozens of demonstrators in front of Russian embassy and in Square]. NU.nl (ภาษาดัตช์). 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ Barradale, Greg (24 February 2022). "Hundreds protest outside Downing Street to demand tougher sanctions on Russia after invasion of Ukraine". The Big Issue. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "Demonstrators protest outside Russian Embassy in Washington after Russia invades Ukraine". CBS News. 24 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 24 February 2022.
- ↑ "Ukrainian residents in Luxembourg protest Russian attacks". delano.lu (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-24.
- ↑ "Photos: Protesters around the world rally in support of Ukraine". www.aljazeera.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-02-24.
- ↑
"เจอกันวันนี้ ! สถานทูตสหพันธรัฐรัสเซีย ! เวลา 13.00 แสดงจุดยืนไม่เอาสงคราม ยืนเคียงข้างประชาชนตัวเล็ก!". 2022-2-25. สืบค้นเมื่อ 2022-2-25.
- ↑ "ชาวยูเครนรวมตัวหน้าสถานทูตรัสเซีย บางรัก ตะโกน 'หยุดสงคราม หยุดปูติน ต้องการสันติ'". มติชน. 2022-2-25. สืบค้นเมื่อ 2022-2-25.
|