ชนเบอร์เบอร์ Imaziɣen, ⵉⵎⴰⵣⵉⵖⵏ, ⵎⵣⵗⵏ
ประชากรทั้งหมด 20–30 ล้าน[ 1] [ 2] [ 3] – 50 ล้านคน[ 4] ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ โมร็อกโก ตั้งแต่ ≈ 10 ล้าน[ 2] ถึง ≈ 12 ล้าน[ 5] [ 6] [ 7] แอลจีเรีย จาก 9[ 2] ถึง ≈ 13 ล้าน[ 7] [ 8] ลิเบีย ~3,850,000[ 4] ตูนิเซีย 110,000[ 9] ถึง ≈ 389,652[ 4] ฝรั่งเศส มากกว่า 2 ล้าน[ 10] มอริเตเนีย 2,883,000 (2,768,000[ 11] & 115,000[ 12] ) ไนเจอร์ 1,620,000[ 13] มาลี 850,000[ 14] เบลเยียม 500,000 (รวมลูกหลาน) [ 15] เนเธอร์แลนด์ 367,455 (รวมลูกหลาน) [ต้องการอ้างอิง ] บูร์กินาฟาโซ 50,000[ 16] อียิปต์ 34,000[ 17] or 1,826,580[ 4] แคนาดา 37,060 (รวมลูกครึ่ง) [ 18] อิสราเอล 3,500[ 19] สหรัฐ 1,327[ 20] ภาษา ภาษาเบอร์เบอร์ (ทามาไซต์) มักเขียนกับอักษรทิฟินาค , Berber Latin alphabet ;Maghrebi Arabic dialects (among Arabized Berbers )ศาสนา ส่วนใหญ่นับถืออิสลามนิกายซุนนี . ส่วนน้อยนับถือนิกายอื่น (ชีอะฮ์ , อิบาดี ), ศาสนาคริสต์ (โปรเตสแตนต์ ),[ 21] [ 22] ศาสนายูดาย และความเชื่อดั้งเดิม กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง กลุ่นแอโฟรเอชีแอติก [ 23] [ 24] [ 25] [ 26] [ 27] [ 28] [ 29]
ชนเบอร์เบอร์ (อังกฤษ : Berber people ) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือ ทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติก ไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรีย และโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น
บริเวณของชนเบอร์เบอร์
ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble)[ 30] [ 31] คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า[ 32] ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ [ 33] ว่า “นูมิเดียน ” และ “มอเนเทเนีย ” โดยโรมัน และ “มัวร์ ” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ
ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป [ 34] ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน
อ้างอิง
↑ Native Peoples of the World: An Encyclopedia. Ed. Steven L. Danver, M. E. Sharpe/Mesa Verde Publishing, 2013, p. 23f.
↑ 2.0 2.1 2.2 "Berber people" . สืบค้นเมื่อ 2016-08-17 .
↑ "North Africa's Berbers get boost from Arab Spring" . Fox News . 5 May 2012. สืบค้นเมื่อ 8 December 2013 .
↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 Tej K. Bhatia, William C. Ritchie (2006). The Handbook of Bilingualism . John Wiley & Sons. p. 860. ISBN 0631227350 . สืบค้นเมื่อ 16 July 2016 . {{cite book }}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์ )
↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ minorityrights.org
↑ Peter Prengaman: Morocco's Berbers Battle to Keep From Losing Their Culture / Arab minority forces majority to abandon native language , Chronicle Foreign Service, March 16, 2001, on sfgate.com.
↑ 7.0 7.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ axl.cefan.ulaval.ca
↑ "Algeria reinstates term limit and recognises Berber language" . BBC News .
↑ "Tunisia" . The World Factbook.[ลิงก์เสีย ]
↑ Les langues de France : un patrimoine méconnu, une réalité vivante เก็บถาวร 2014-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , originally published by CultureComm unication.gouv.fr.
↑ Scholastic Library Publishing (2005). Lands and Peoples: Africa . Grolier. p. 135. ISBN 0717280241 . สืบค้นเมื่อ 17 August 2016 . ; Moors 80% of population of 3,460,000
↑ Joshua Project. "Tuareg, Tamasheq in Mauritania" .
↑ "Niger" . The World Factbook. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2020-04-24. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22 .
↑ "Mali" . The World Factbook. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2015-11-10. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22 .
↑ Truong, Nicolas (2016-03-23). "Au cœur des réseaux djihadistes européens, le passé douloureux du Rif marocain" . Le Monde.fr (ภาษาฝรั่งเศส). ISSN 1950-6244 . สืบค้นเมื่อ 2016-11-16 .
↑ Joshua Project. "Tuareg, Tamasheq in Burkina Faso" .
↑ Joshua Project. "Berber, Siwa in Egypt" .
↑ Government of Canada, Statistics Canada (February 8, 2017). "Census Profile, 2016 Census - Canada [Country] and Canada [Country]" . www12.statcan.gc.ca .
↑ Moshe Shokeid: The Dual Heritage: Immigrants from the Atlas Mountains in an Israeli Village . Manchester University Press, 1971.
↑ US Census Bureau. "The Arab Population: 2000" (PDF) . สืบค้นเมื่อ 2013-05-05 .
↑ Sadek Lekdja: Christianity in Kabylie , Radio France Internationale, 7 mai 2001 เก็บถาวร 2017-10-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน . "Believers in Christ from a Muslim Background: A Global Census | Duane A Miller Botero - Academia.edu" . academia.edu. สืบค้นเมื่อ 27 March 2016 .
↑ *(ฝรั่งเศส)
↑ Blench, Roger. Archaeology, Language, and the African Past. Rowman: Altamira, 2006 ISBN 9780759104662
↑ Diakonoff, Igor. The Earliest Semitic Society: Linguistic Data. Journal of Semitic Studies, Vol. 43 Iss. 2 (1998).
↑ Shirai, Noriyuki. The Archaeology of the First Farmer-Herders in Egypt: New Insights into the Fayum Epipalaeolithic and Neolithic. Leiden University Press, 2010. ISBN 9789087280796 .
↑ Blench R (2006) Archaeology, Language, and the African Past, Rowman Altamira, ISBN 0-7591-0466-2 , ISBN 978-0-7591-0466-2 , books.google.be/books?id=esFy3Po57A8C
↑ Ehret C, Keita SOY, Newman P (2004) The Origins of Afroasiatic a response to Diamond and Bellwood (2003) in the Letters of SCIENCE 306, no. 5702, p. 1680 doi :10.1126/science.306.5702.1680c
↑ Bender ML (1997), Upside Down Afrasian, Afrikanistische Arbeitspapiere 50, pp. 19–34
↑ Militarev A (2005) Once more about glottochronology and comparative method: the Omotic-Afrasian case, Аспекты компаративистики – 1 (Aspects of comparative linguistics – 1). FS S. Starostin. Orientalia et Classica II (Moscow), p. 339-408. http://starling.rinet.ru/Texts/fleming.pdf เก็บถาวร 2020-12-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
↑ Brett, M. (1996). The Berbers . Blackwell Publishing. pp. 5 –6.
↑ Maddy-weitzman, B. (2006). "Ethno-politics and globalisation in North Africa: The berber culture movement*" (PDF) . The Journal of North African Studies . 11 (1): 71–84. doi :10.1080/13629380500409917 . สืบค้นเมื่อ 2007-07-17 .
↑ Mohand Akli Haddadou, Le guide de la culture berbère , Paris Méditerranée, 2000, p.13-14
↑ Brian M. Fagan, Roland Oliver, Africa in the Iron Age: c 500 BCE to 1400 CE p. 47
↑ Encyclopedia Americana, Scholastic Library Publishing, 2005, v.3, p.569