Share to:

 

นิวฮอไรซันส์

นิวฮอไรซันส์
ภาพดาวเทียม นิวฮอไรซันส์
ประเภทภารกิจบินผ่าน
ดาวพฤหัส
ดาวพลูโต
2014 MU69
ผู้ดำเนินการNASA
COSPAR ID2006-001A
SATCAT no.28928
เว็บไซต์pluto.jhuapl.edu
nasa.gov/newhorizons
ระยะภารกิจภารกิจหลัก: 9.5 ปี
รวม: 18 ปี 11 เดือน 25 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตAPL / SwRI
มวลขณะส่งยาน478 กิโลกรัม (1,054 ปอนด์)
มวลแห้ง401 กิโลกรัม (884 ปอนด์)
มวลบรรทุก30.4 กิโลกรัม (67 ปอนด์)
ขนาด2.2 × 2.1 × 2.7 เมตร (7.2 × 6.9 × 8.9 ฟุต)
กำลังไฟฟ้า245 วัตต์
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น19 มกราคม ค.ศ. 2006 (2006-01-19) 19:00 UTC
จรวดนำส่งAtlas V (551) AV-010
ฐานส่งCape Canaveral SLC-41
ผู้ดำเนินงานInternational Launch Services[1]
ลักษณะวงโคจร
ความเยื้อง1.41905
ความเอียง2.23014°
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น225.016°
มุมของจุดใกล้ที่สุด293.445°
วันที่ใช้อ้างอิง1 มกราคม ค.ศ. 2017 (วันจูเลียน 2457754.5)[2]
บินผ่าน132524APL (โดยบังเอิญ)
เข้าใกล้สุด13 มิถุนายน ค.ศ. 2006, 04:05 UTC
ระยะทาง101,867 กิโลเมตร (63,297 ไมล์)
บินผ่านดาวพฤหัส (ใช้แรงโน้มถ่วงช่วย)
เข้าใกล้สุด28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007, 05:43:40 UTC
ระยะทาง2,300,000 กิโลเมตร (1,400,000 ไมล์)
บินผ่านดาวพลูโต
เข้าใกล้สุด14 กรกฎาคม ค.ศ. 2015, 11:49:57 UTC
ระยะทาง12,500 กิโลเมตร (7,800 ไมล์)
บินผ่าน4869582014 MU
เข้าใกล้สุด1 มกราคม ค.ศ. 2019, 05:33:00 UTC
ระยะทาง3,500 กิโลเมตร (2,200 ไมล์)
 

นิวฮอไรซันส์ (อังกฤษ: New Horizons; ท. ขอบฟ้าใหม่) เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของนาซา ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอส. แอแลน สเทิร์น (S. Alan Stern) เป็นหัวหน้า ยานดังกล่าวมีภารกิจเพื่อศึกษาดาวพลูโต ดาวบริวารของมัน และแถบไคเปอร์ โดยบินผ่านระบบพลูโตและวัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object) ตั้งแต่หนึ่งวัตถุขึ้นไป

วันที่ 15 มกราคม 2558 ยานอวกาศนิวฮอไรซันส์เริ่มระยะเข้าใกล้ (approach phase) ดาวพลูโต เมื่อ 11:49 UTC ของวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ยานอวกาศนิวฮอไรซันส์ บินห่างจากพื้นผิวดาวพลูโต 12,500 กิโลเมตร เป็นยานอวกาศลำแรกที่สำรวจดาวพลูโต

การเดินทางของยานนิวฮอไรซันส์

วันที่ เหตุการณ์ หมายเหตุ อ้างอิง
8 มิ.ย. พ.ศ. 2544 ยานนิวฮอไรซันส์ถูกเลือกโดย NASA After a three month concept study before submission of the proposal, two design teams were competing: POSSE (Pluto and Outer Solar System Explorer) and New Horizons. [3]
13 มิ.ย. 2548 ยานอวกาศออกมาที่ ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์ เพื่อทำการทดลองครั้งสุดท้าย ยานอวกาศผ่านการทดสอบครั้งสุดท้ายที่ Goddard Space Flight Center (GSFC). [ต้องการอ้างอิง]
24 ก.ย. 2548 ยานนิวฮอไรซันส์ไปจอดที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี แหลมคานาเวอรัล ย้ายจาก ฐานทัพอากาศแอนดรูว์ รัฐแมรี่แลนด์ โดยใช้เครื่องบินขนส่งทางทหาร C-17 Globemaster III cargo aircraft. [4]
17 ธ.ค. 2548 ยานนิวฮอไรซันส์พร้อมที่จะลงตำแหน่งในจรวด Transported from Hazardous Servicing Facility to Vertical Integration Facility at Space Launch Complex 41. [ต้องการอ้างอิง]
11 ม.ค. 2549 Primary launch window opened การเปิดตัวได้เกิดความล่าช้าเนื่องจากการทดสอบต่อไป [ต้องการอ้างอิง]
16 ม.ค. 2549 จรวดเคลื่อนที่สู่จุดปล่อยตัว จรวจปล่อยตัว แอตลาส วี หมายเลขซีเรียล เอวี-010 ได้กลิ้งออกไปนอกจุดปล่อยตัว [ต้องการอ้างอิง]
17 ม.ค. 2549 การปล่อยตัวยานนิวฮอไรซันส์ได้ถูกเลื่อนไป เพราะสภาพอากาศที่ไม่เป็นที่ยอมรับ (มีลมแรง) [5][6]
18 ม.ค. 2549 การปล่อยตัวยานนิวฮอไรซันส์ได้ถูกเลื่อนไปอีก เพราะเกิดไฟฟ้าดับที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์ [ต้องการอ้างอิง]
19 ม.ค. 2549 การปล่อยตัวยานนิวฮอไรซันส์สำเร็จลงตามเวลามาตรฐานตะวันออก 14:00 (ตามเวลาสากลเชิงพิกัด 19:00) การปล่อยตัวยานทำได้สำเร็จ หลังจากล่าช้าเล็กน้อยเนื่องจากมีเมฆบัง [7][8]
7 เม.ย. 2549 ยานนิวฮอไรซันส์เคลื่อนที่ผ่านดาวอังคาร ยานได้ผ่านดาวอังคารที่ 1.7 AU จากโลก [9][10]
13 มิ.ย. 2549 ผ่านดาวเคราะห์น้อย132524 เอพีแอล ยานผ่านเข้าใกล้ดาวเคราะห์น้อย 132524 APL ในแถบดาวเคราะห์น้อยที่ระยะใกล้ที่สุดประมาณ 101,867 กิโลเมตร เมื่อเวลา 04:05 UTC และได้ถ่ายภาพดาวเคราะห์น้อยเอาไว้ [11]
28 พ.ย. 2549 ยานสามารถถ่ายภาพแรกของดาวพลูโตได้ มีการถ่ายภาพดาวพลูโตจากระยะไกล เห็นดาวเคราะห์แคระเพียงจางๆ [12]
10 ม.ค. 2550 ทดสอบการนำร่องใกล้ดาวพฤหัสบดี ยานได้สังเกตการณ์ดวงจันทร์ Callirrhoe ซึ่งเป็นดาวบริวารรอบนอกของดาวพฤหัสจากในระยะไกล เป็นการทดสอบระบบนำร่อง [13]
28 ก.พ. 2550 โคจรผ่านดาวพฤหัสบดี ยานผ่านเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีที่สุดเมื่อเวลา 05:43:40 UTC ที่ระยะ 2.305 ล้านกิโลเมตร ที่ความเร็ว 21.219 กม./วินาที [14]
8 มิ.ย. 2551 ยานผ่านวงโคจรของดาวเสาร์ ยานผ่านวงโคจรของดาวเสาร์ที่ 9.5 AU จากโลก [14][15]
29 ธ.ค. 2552 ยานกำลังเข้าใกล้ดาวพลูโตมากกว่าใกล้โลก ดาวพลูโตอยู่ห่างจากโลก 32.7 AU ขณะที่ยานกำลังเดินทางอยู่ห่างจากโลก 16.4 AU [16][17][18]
25 ก.พ. 2553 ยานเดินทางได้ครึ่งหนึ่งของระยะทางทั้งหมด Half the travel distance of 2.38×109 กิโลเมตร (1,480,000,000 ไมล์) was completed. [19]
18 มี.ค. 2554 ยานบินผ่านวงโคจร ดาวยูเรนัส นี่เป็นการโคจรผ่านวงโคจรดาวเคราะห์เป็นดวงที่ 4 ยานนิวฮอไรซันส์เดินทางถึงวงโคจรของดาวยูเรนัสเมื่อเวลา 22:00 GMT [20][21]
2 ธ.ค. 2554 ยานเข้าใกล้ดาวพลูโตมากกว่าที่ยานใดๆ เคยทำได้มาก่อน ก่อนหน้านี้ ยานวอยเอจเจอร์ 1 ทำสถิติเข้าใกล้ดาวพลูโตที่สุดที่ระยะประมาณ ~10.58 AU [22]
11 ก.พ. 2555 ยานห่างจากดาวพลูโต 10 หน่วยดาราศาสตร์ ที่เวลาประมาณ 4:55 UTC [23]
1 ก.ค. 2556 ยานสามารถบันทึกภาพดวงจันทร์ชารอนได้เป็นครั้งแรก Charon is clearly separated from Pluto using the Long Range Reconnaissance Imager (LORRI). [24][25]
25 ต.ค. 2556 ยานห่างจากดาวพลูโต 5 หน่วยดาราศาสตร์ [23][26]
24 ส.ค. 2557 ยานผ่านวงโครจร ดาวเนปจูน นี่เป็นวงโคจรดาวเคราะห์ดวงที่ 5 ที่ยานบินผ่าน [27]
ม.ค. 2558 Observation of KBO VNH0004 Distant observations from a distance of roughly 75 million km (~0.5 AU) [28]
ก.พ. 2558 เริ่มการสำรวจดาวพลูโต ยานนิวฮอไรซันส์เข้าใกล้ดาวพลูโตมากพอที่จะเริ่มภารกิจการสำรวจทางวิทยาศาสตร์ [14]
5 พ.ค. 2558 มองเห็นจากฮับเบิลมากที่สุด กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล สามารถบันทึกภาพยานที่ความคมชัดสูงสุดได้เท่านี้ [14]
14 ก.ค. 2558 ยานโคจรผ่านดาวพลูโต, ดวงจันทร์ชารอน, Hydra, Nix, Kerberos และ Styx ยานบินผ่านดาวพลูโตที่เวลาประมาณ 11:47 UTC ระยะห่าง 13,695 กม., 13.78 กม./วินาที ดาวพลูโตอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 32.9 AU ยานบินผ่านชารอน, ไฮดรา, นิกซ์, เคอร์เบอรอส และสติกซ์ ที่เวลาประมาณ 12:01 UTC ระยะห่าง 29,473 กม., 13.87 กม./วินาที [14]
2559-2563 ยานน่าจะบินผ่านวัตถุในแถบไคเปอร์อีกจำนวนหนึ่ง ยานจะสำรวจระหว่างบินผ่านวัตถุในแถบไคเปอร์ถ้ามีการตรวจจับได้ [29]
2569 ประมาณการสิ้นสุดภารกิจ สรุปผลภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์แคระ [30]
ธ.ค. 2581 ยานอยู่ในระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 100 หน่วยดาราศาสตร์ ถ้ายานยังทำงานได้ ก็จะสำรวจพื้นที่เฮลิโอสเฟียร์ต่อไป [31]



อ้างอิง

  1. "Atlas Launch Archives". International Launch Services. สืบค้นเมื่อ April 21, 2018.
  2. "HORIZONS Web-Interface". NASA/JPL. สืบค้นเมื่อ July 25, 2016. To find results, change Target Body to "New Horizons" and change Time Span to include "2017-01-01".
  3. Savage, D. (November 29, 2001). "NASA Selects Pluto-Kuiper Belt Mission For Phase B Study". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 8, 2011. สืบค้นเมื่อ January 12, 2011.
  4. "NASA'S Pluto Space Probe Begins Launch Preparations". SpaceDaily. September 27, 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 31, 2009. สืบค้นเมื่อ January 12, 2011.
  5. "Winds Delay Launching for NASA Mission to Pluto". New York Times. January 17, 2006.
  6. "Launch of NASA's Pluto Probe Delayed for 24 Hours". Space.com. January 17, 2006. สืบค้นเมื่อ June 3, 2013.
  7. Alexander, Amir (January 19, 2006). "New Horizons Launched on its Way to Pluto". The Planetary Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 18, 2012.
  8. Harwood, William (January 19, 2006). "New Horizons launches on voyage to Pluto and beyond". Spaceflight Now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 30, 2010. สืบค้นเมื่อ January 12, 2011.
  9. Malik, T. (April 7, 2006). "Pluto-Bound Probe Passes Mars' Orbit". Space.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 27, 2011. สืบค้นเมื่อ January 14, 2011.
  10. "Distance between Mars and Earth on 7 April 2006".
  11. Olkin, Catherine B.; Reuter; Lunsford; Binzel; และคณะ (2006). "The New Horizons Distant Flyby of Asteroid 2002 JF56". Bulletin of the American Astronomical Society. 38: 597. Bibcode:2006DPS....38.5922O.
  12. K. Beisser (November 28, 2006). "New Horizons, Not Quite to Jupiter, Makes First Pluto Sighting". JHU/APL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 13, 2014. สืบค้นเมื่อ January 13, 2011.
  13. "New Horizons Jupiter Flyby Timeline". The Planetary Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-06. สืบค้นเมื่อ March 22, 2012.
  14. 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 "New Horizons Web Site". Pluto.jhuapl.edu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-03. สืบค้นเมื่อ August 1, 2012.
  15. "Distance between Saturn and Earth on June 8, 2008". สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
  16. Villard, R. (December 29, 2009). "New Horizons Crosses Halfway Point to Pluto". Discovery Communications, LLC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 25, 2010. สืบค้นเมื่อ January 12, 2011.
  17. "Distance between Pluto and Earth on December 29, 2009". สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
  18. "New Horizon properties on December 29, 2009". สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
  19. "Spacecraft Hits Midpoint on Flight to Pluto". Space.com. February 26, 2010. สืบค้นเมื่อ August 11, 2011.
  20. "Space Spin – New Horizons ventures beyond Saturn's orbit". June 9, 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-23. สืบค้นเมื่อ March 14, 2011.
  21. SPACE.com Staff (March 18, 2011). "NASA Pluto Probe Passes Orbit of Uranus". SPACE.com. สืบค้นเมื่อ March 19, 2011.
  22. Twitter.com – NewHorizons2015
  23. 23.0 23.1 "New Horizons on Approach: 22 AU Down, Just 10 to Go". JHU/APL. February 10, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-13. สืบค้นเมื่อ March 22, 2012.
  24. Plait, Phil (July 11, 2013). "New Horizons Gets a First Glimpse of Pluto's Moon Charon". Slate.
  25. "Charon Revealed! New Horizons Camera Spots Pluto's Largest Moon". New Horizons; Headlines. The Johns Hopkins University Applied Physics Laboratory. July 10, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 8, 2013.
  26. "On the Path to Pluto, 5 AU and Closing". New Horizons; Headlines. The Johns Hopkins University Applied Physics Laboratory. October 25, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 13, 2014.
  27. "New Horizons Web Site". Pluto.jhuapl.edu. March 18, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-14. สืบค้นเมื่อ April 3, 2012.
  28. NewHorizons2015. "About the Jan 21o5 KBO, It's VNH0004". Twitter. สืบค้นเมื่อ August 21, 2012.
    Buie, Marc W. "Orbit Fit and Astrometric record for VNH0004". User pages. Southwest Research Institute Planetary Science Directorate. สืบค้นเมื่อ August 21, 2012.
  29. "Why Go to Pluto?". NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-23. สืบค้นเมื่อ July 14, 2011.
  30. NASA (July 20, 2011). "New Horizons". NASA Solar System Exploration. National Aeronautics and Space Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2003-10-26. สืบค้นเมื่อ February 21, 2012.
  31. "New Horizons Salutes Voyager". Johns Hopkins APL. August 17, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 13, 2014. สืบค้นเมื่อ November 3, 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya