ประธานาธิบดียูเครน (ยูเครน : Президе́нт Украї́ни , อักษรโรมัน: Prezydent Ukrainy ) เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ของประเทศยูเครน ประธานาธิบดีจะเป็นตัวแทนของประเทศในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ บริหารกิจกรรมทางการเมืองต่างประเทศของรัฐ ดำเนินการเจรจาและสรุปสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ประธานาธิบดีได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากพลเมืองยูเครนโดยจะดำรงตำแหน่งตามวาระเป็นระยะเวลาห้าปี (ไม่ว่าการเลือกตั้งประธานาธิบดีจะเร็วหรือตามกำหนดการ) โดยจำกัดให้ไม่ดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกัน[ 3]
ที่พักอย่างเป็นทางการของประธานาธิบดีคือทำเนียบมารียินสกี ซึ่งตั้งอยู่ในเขตแปแชร์ส กรุงเคียฟ ที่พักอาศัยอย่างเป็นทางการอื่น ๆ มีได้แก่ทำเนียบคิเมียรา และ House of the Weeping Widow ซึ่งใช้สำหรับการเยี่ยมชมอย่างเป็นทางการโดยตัวแทนจากต่างประเทศ สำนักประธานาธิบดียูเครน เป็นรู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในชื่อ "บันกอวา" โดยอ้างอิงจากถนนที่ตั้งอยู่ ทำหน้าที่เป็นสำนักประธานาธิบดี ซึ่งให้คำปรึกษาแก่ประธานาธิบดีทั้งในประเทศ ต่างประเทศ และด้านกฎหมาย
นับตั้งแต่ก่ารสถาปนาตำแหน่งในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1991 มีผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดียูเครนหกคน แลออนิด เกราชุก เป็นประธานาธิบดีคนแรกซึ่งดำรงตำแหน่งสามปีตั้งแต่ ค.ศ. 1991 จนกระทั่งลาออกจากตำแหน่งใน ค.ศ. 1994 แลออนิด กุชมา เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวที่ได้ตำแหน่งสองวาระติดต่อกัน วิกตอร์ ยุชแชนกอ , แปตรอ ปอรอแชนกอ และ วิกตอร์ ยานูกอวึช ดำรงตำแหน่งหนึ่งวาระ โดยภายหลังถูกแทนที่โดยออแลกซันดร์ ตูร์ชูนอว์ รักษาการประธานาธิบดีซึ่งดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภายูเครน ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014[ 4] ออแลกซันดร์ ตูร์ชูนอว์เป็นรักษาการประธานาธิบดีเพียงคนเดียวในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของยูเครน โดยในยูเครนอำนาจของรักษาการประธานาธิบดีนั้นถูกจำกัดอย่างรุนแรง ซึ่งต่างจากในสหรัฐที่การเป็นรักษาการประธานาธิบดีหมายถึงการได้รับอำนาจและหน้าที่ทั้งหมดของตำแหน่งประธานาธิบดีในทันที ในวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 2015 ยานูกอวึชถูกถอดถอนจากตำแหน่งประธานาธิบดียูเครนอย่างเป็นทางการ[ 5] รัฐบาลยูเครนใช้ระบบกึ่งประธานาธิบดี ซึ่งบทบาทของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลจะแยกจากกัน ดังนั้นประธานาธิบดียูเครนจึงไม่ใช่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศ[ 6] นายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ารัฐบาล[ 7] ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งโดยแดนึส ชมือฮัล ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2020
ประธานาธิบดีคนปัจจุบันของยูเครนคือวอลอดือมือร์ แซแลนสกึย ซึ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2019
รายชื่อ
คำอธิบาย
อิสระ
ยูเครนของเรา
Party of Regions
สหภาพยูเครนทั้งปวง "ปิตุภูมิ"
กลุ่มของปอรอแชนกอ
ผู้รับใช้ประชาชน
№
ภาพ
นาม (Birth–Death)
สมัย / ผลการเลือกตั้ง
รัฐบาล
หมายเหตุ
พรรคการเมือง
1
แลออนิด เกราชุก [ 8] Леонід Кравчук (1934–2022)
5 ธันวาคม 1991 (ปฏิญาณตนรับตำแหน่งในวันที่ 22 สิงหาคม 1992) [a]
19 กรกฎาคม 1994
โฟกิน (1990–92)
ลาออก
อิสระ
1991 – 61.59%, 19,643,481[ 9]
กุชมา (1992–93)
2
แลออนิด กุชมา [ 10] Леонід Кучма (1938–)
19 กรกฎาคม 1994[ 11]
23 มกราคม 2005
มาซอล II (1994–95)มาร์ชุก (1995–96)ลาซาเรนโก (1996–97)ปุสโตโวอีเชนโก (1997–99)ยุชแชนกอ (1999–2001)กินัก (2001–02)ยานูกอวึช I (2002–04)
ไม่รับดำรงตำแหน่งในสมัยที่ 3[ 12]
อิสระ [ 13]
1994 – 52.15%, 14,016,850[ 14] 1999 – 56.25%, 15,870,722[ 15]
3
วิกตอร์ ยุชแชนกอ [ 16] Віктор Ющенко (1954–)
23 มกราคม 2005
25 กุมภาพันธ์ 2010
ตือมอแชนกอ 1 (2005)
พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งครั้งใหม่[ 17]
ยูเครนของเรา [ 18]
2004 – 51.99%, 15,115,712[ 19]
เยกานูรอฟ (2005–06)
ยานูกอวึช 2 (2006–07)
ตือมอแชนกอ 2 (2007–10)
4
วิกตอร์ ยานูกอวึช [ 20] Віктор Янукович (1950–)
25 กุมภาพันธ์ 2010
22 กุมภาพันธ์ 2014
อาซารอฟ 1 (2010–12)
พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากการปฏิวัติยูเครนใน ค.ศ. 2014 [ 21]
Party of Regions [ 22]
2010 – 48.95%, 12,481,266[ 23]
อาซารอฟ 2 (2012–14)
—
ออแลกซันดร์ ตูร์ชูนอว์ [ 24] Олександр Турчинов (1964–)
22 กุมภาพันธ์ 2014
7 มิถุนายน 2014
ยัตเซนยุก 1 (2014) [ 25]
สันนิษฐานว่าเป็นผู้บังคับบัญชากองทัพ ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์[ 26]
สหภาพยูเครนทั้งปวง "ปิตุภูมิ" [ 27]
ตำแหน่งในอดีตเป็นประธานแวร์คอว์นาราดา [c] (288–เห็นด้วย, 0–ไม่เห็นด้วย, 5–งดออกเสียง) [ 28] [ 29]
5
แปตรอ ปอรอแชนกอ [ 30] Петро Порошенко (1965–)
7 มิถุนายน 2014
20 พฤษภาคม 2019
ชนะการเลือกตั้งครั้งแรก
กลุ่มของปอรอแชนกอ
2014 – 54.70%, 9,857,308[ 31]
ยัตเซนยุก 2 (2014–19)
6
วอลอดือมือร์ แซแลนสกึย Володимир Зеленський (1978–)
20 พฤษภาคม 2019
ปัจจุบัน
ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีอย่างถล่มถลาย
ผู้รับใช้ประชาชน
อ้างอิง
↑ "336,000 UAH to EUR - Ukrainian Hryvni to Euros Exchange Rate" . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 May 2018 .
↑ Кабмин утвердил новые зарплаты для Порошенко и Гройсмана (ภาษารัสเซีย). bigmir.net. 1 สิงหาคม 2016. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 สิงหาคม 2016.
↑ "New Ukrainian president will be elected for 5-year term – Constitutional Court" . Interfax-Ukraine . 16 พฤษภาคม 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 17 พฤษภาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2014 .
↑ "Resolution of the Verkhovna Rada №764-VII of 23.02.2014 on conferring powers of the president of Ukraine on the Chairman of the Verkhovna Rada according to article 112 of the Constitution of Ukraine" . President of Ukraine's Official website . 25 February 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 5 April 2014.
↑ Published law deprives Yanukovych of presidential rank เก็บถาวร 17 มิถุนายน 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , UNIAN (17 June 2015)
↑ Volunteer battalion Azov members and former members create National Corps political party เก็บถาวร 5 ธันวาคม 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , Interfax-Ukraine (14 October 2016)
↑ Economic Interdependence in Ukrainian-Russian Relations by Paul J. D'Anieri , State University of New York Press , 1999, ISBN 978-0-7914-4246-3 (page 187)
↑ "Leonid Kravchuk" . Official web-site of President of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2014-06-18. สืบค้นเมื่อ 7 June 2014 .
↑ Kireev, Alex. "Ukraine. Presidential elections of 1991" . Electoral Geography 2.0 (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "Leonid Kuchma" . Official web-site of President of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2014-05-29. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Laws of Ukraine . Vekhovna Rada of Ukraine decree No. 106/94-ВР : On the date of oath of the President of Ukraine (Про дату принесення присяги Президентом України) . Adopted on 14 July 1994. (Ukrainian)
↑ Laws of Ukraine . Constitutional Court of Ukraine decision No. 22-рп/2003 : Decision of the Constitutional Court of Ukraine regarding the case of the constitutional petition of 53 and 47 People's Deputies of Ukraine concerning the official interpretation of the provisions of Article 103 of the Constitution of Ukraine (right on the timing of tenure of the President of Ukraine (Рішення Конституційного Суду України у справі за конституційними поданнями 53 і 47 народних депутатів України про офіційне тлумачення положення частини третьої статті 103 Конституції України (справа щодо строків перебування на посту Президента України)) . Adopted on 25 December 2003. (Ukrainian)
↑ "Kuchma Leonid Danylovych" . Election of President 99 (ภาษายูเครน). Central Election Commission of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Popescu, Marina (12 December 2002). "1994 Presidential Elections" . Project on Political Transformation and the Electoral Process in Post-Communist Europe . University of Essex . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2012-02-05. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Carr, Adam. "Presidential election of October/November 1999" . Psephos: Adam Carr's Electoral Archive . สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "Victor Yushchenko" . Official web-site of President of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2014-05-18. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "Yushchenko loses re-election bid" . The Washington Times . 28 January 2010. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "History of "Our Ukraine" " . Informational server "Our Ukraine" (ภาษายูเครน). Our Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2015-09-29. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Carr, Adam. "Presidential election of October - November 2004" . Psephos: Adam Carr's Electoral Archive . สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "The History of Presidency" . Official web-site of President of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2008-03-02. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Laws of Ukraine . Vekhovna Rada of Ukraine decree No. 757-VII : On withdrawal of the President of Ukraine from the implementation of constitutional powers and calling early presidential elections in Ukraine (Про самоусунення Президента України від виконання конституційних повноважень та призначення позачергових виборів Президента України) . Adopted on 22 February 2014. (Ukrainian)
↑ "Yanukovych Victor Fedorovych" . Elections of the President of Ukraine (ภาษายูเครน). Central Election Commission of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Carr, Adam. "Presidential election of January - February 2010" . Psephos: Adam Carr's Electoral Archive . สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "Ukraine: Speaker Oleksandr Turchynov named interim president" . BBC News . 23 February 2014. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "Government of Ukraine" . Web-portal of Ukrainian Government . Cabinet of Ministers of Ukraine . สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Laws of Ukraine . President of Ukraine decree No. 140/2014 : On the assumption of responsibilities of Supreme Commander of the Armed Forces of Ukraine (Про прийняття обов'язків Верховного Головнокомандувача Збройних Сил України) . Adopted on 26 February 2014. (Ukrainian)
↑ "Oleksandr Turchynov" (ภาษายูเครน). Batkivshchyna . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2014-07-01. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Laws of Ukraine . Vekhovna Rada of Ukraine decree No. 748-VII : On the Chairman of the Verhkvona Rada of Ukraine (Про Голову Верховної Ради України) . Adopted on 22 February 2014. (Ukrainian)
↑ "Draft Resolution of the Chairman of the Verkhovna Rada of Ukraine (Turchynov O.V.)" . Official portal of the Verkhovna Rada of Ukraine (ภาษายูเครน). Verkhovna Rada of Ukraine . สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ "Petro Poroshenko" . Official web-site of President of Ukraine . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2014-02-09. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
↑ Carr, Adam. "Presidential election of 25 May 2013" . Psephos: Adam Carr's Electoral Archive . สืบค้นเมื่อ 29 March 2015 .
แหล่งข้อมูลอื่น
ผู้นำรัฐและรัฐบาลของยุโรป
ประมุขแห่งรัฐ
รัฐสมาชิกสหประชาชาติ และรัฐผู้สังเกตการณ์ รัฐที่ได้รับการรับรอง อย่างไม่สมบูรณ์2 รัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง3 อดีตรัฐ
หัวหน้ารัฐบาล
รัฐสมาชิกสหประชาชาติ และรัฐผู้สังเกตการณ์ รัฐที่ได้รับการรับรอง อย่างไม่สมบูรณ์2 รัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง3 อดีตรัฐ
1 มีดินแดนบางส่วนอยู่ในทวีปเอเชีย · 2 รัฐที่ได้รับการรับรองอย่างน้อยหนึ่งรัฐในรัฐสมาชิกของสหประชาชาติ · 3 รัฐที่ไม่ได้รับการรับรองโดยรัฐสมาชิกของสหประชาชาติ