ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง (นักบริหารระดับ 11 เดิม) เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงของกระทรวงยุติธรรม
ปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
- รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง กำหนดแนวทางและแผน การปฏิบัติราชการของกระทรวง และลำดับความสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจำปีของ ส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบายที่รัฐมนตรีกำหนด รวมทั้งกำกับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง
- เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี
- เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวง
สมัยใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรม
ลำดับ (สมัย) |
รูป |
รายนาม |
เริ่มวาระ |
สิ้นสุดวาระ
|
1
|
|
พระศรีธรรมสาส์น
|
พ.ศ. 2435
|
พ.ศ. 2439
|
2
|
|
พระยากฤติกานุกรณ์กิจ
|
พ.ศ. 2439
|
พ.ศ. 2444
|
3
|
|
พระจักรปาณีศรีศีลวิสุทธิ์ (ลออ ไกรกฤษ์)
|
พ.ศ. 2444
|
พ.ศ. 2454
|
4
|
|
พระยาราชเสนา
|
พ.ศ. 2454
|
พ.ศ. 2462
|
5
|
|
มหาอำมาตย์ตรีพระยาตราชูชาดิศร
|
18 กรกฎาคม พ.ศ. 2462
|
พ.ศ. 2469
|
6
|
|
มหาอำมาตย์ตรีพระอัครพันธ์โสภณ
|
พ.ศ. 2469
|
พ.ศ. 2470
|
7
|
|
มหาอำมาตย์ตรีพระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปรัชญานนท์)
|
พ.ศ. 2470
|
1 มกราคม พ.ศ. 2478[1]
|
8
|
|
พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
|
1 เมษายน พ.ศ. 2479
|
1 มีนาคม พ.ศ. 2481[2]
|
9
|
|
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี)
|
1 กันยายน พ.ศ. 2482
|
16 มกราคม พ.ศ. 2484
|
10
|
|
พระยารักตประจิตธรรมจำรัส (เขียน รักตประจิต)
|
17 มกราคม พ.ศ. 2484[3]
|
7 สิงหาคม พ.ศ. 2492
|
11
|
|
พระดุลยพากย์สุวมัณฑ์ (ปิ่ณฑ์ ปัทมสถาน)
|
8 สิงหาคม พ.ศ. 2492[4]
|
11 มีนาคม พ.ศ. 2495
|
หลังจากเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรม
- เชิงอรรถรส
- ↑ รักษาราชการแทนจนถึง 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
|
| |
ตัวเอียง หมายถึง รักษาการ |
ปลัดกระทรวงในประเทศไทย |
---|
ตำแหน่งในปัจจุบัน | | |
---|
ตำแหน่งในอดีต | |
---|