ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2517 |
---|
แผนที่สรุปฤดูกาล |
ขอบเขตฤดูกาล |
---|
ระบบแรกก่อตัว | 9 มกราคม พ.ศ. 2517 |
---|
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 24 ธันวาคม พ.ศ. 2517 |
---|
พายุมีกำลังมากที่สุด |
---|
|
ชื่อ | กลอเรีย |
---|
• ลมแรงสูงสุด | 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
---|
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 930 hPa (มิลลิบาร์) |
---|
|
สถิติฤดูกาล |
---|
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 35 ลูก |
---|
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 32 ลูก |
---|
พายุไต้ฝุ่น | 16 ลูก |
---|
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น | 0 ลูก (สถิติจำนวนต่ำที่สุด) |
---|
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ไม่ทราบ |
---|
ความเสียหายทั้งหมด | ไม่ทราบ |
---|
|
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก 2515, 2516, 2517, 2518, 2519 |
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2517 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2517 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2517) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้
พายุ
ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ปีนี้มีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นจำนวน 35 ลูก ในจำนวนนี้ 32 ลูกพัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน มี 16 ลูกพัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น และไม่มีพายุใดเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเลย[1] ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลล่าสุดที่ไม่มีพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเลย[2]
พายุโซนร้อนวานดา (อาตัง)
การแปรปรวนของลมในเขตร้อนก่อตัวขึ้นในวันที่ 8 มกราคม ทางตะวันตกเฉียงใต้ของปาเลา[1] ในวันรุ่งขึ้น การแปรปรวนทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน และเป็นพายุโซนร้อน วานดามีกำลังสูงสุดในวันที่ 10 มกราคม ด้วยความเร็วลม 65 ไมล์ต่อชั่วโมง ต่อมาพายุอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนในวันที่ 11 มกราคม และสลายตัวไปในวันที่ 14 มกราคม[3]
พายุโซนร้อนเอมี
พายุโซนร้อนเบบ
พายุไต้ฝุ่นคาร์ลา
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 05W
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
|
|
ระยะเวลา
|
6 – 8 มิถุนายน
|
ความรุนแรง
|
55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ
|
พายุไต้ฝุ่นไดนาห์ (บีซิง)
พายุโซนร้อนเอ็มมา (กลาริง)
พายุโซนร้อนฟรีดา
พายุไต้ฝุ่นกิลดา (เดลิง)
พายุโซนร้อนแฮเรียต (กาดิง)
พายุโซนร้อนจีน (เฮลิง)
พายุไต้ฝุ่นไอวี (อีเลียง)
พายุไต้ฝุ่นคิม
พายุโซนร้อนลูซี (มีดิง)
พายุไต้ฝุ่นแมรี
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 16W
พายุโซนร้อนเนดีน (โนร์มิง)
พายุไต้ฝุ่นพอลลี
พายุดีเปรสชันเขตร้อน 20W
พายุโซนร้อนโรส (โอยัง)
พายุไต้ฝุ่นเชอร์ลีย์ (ปาซิง)
พายุโซนร้อนทริกซ์
พายุไต้ฝุ่นเวอร์จิเนีย
พายุโซนร้อนเวนดี (รูปิง)
พายุไต้ฝุ่นแอกเนส
พายุไต้ฝุ่นเบสส์
ชื่อของ PAGASA: ซูซัง
พายุไต้ฝุ่นคาร์เมน (เตริง)
พายุไต้ฝุ่นเดลลา (อูดิง)
พายุไต้ฝุ่นเอเลน
ชื่อของ PAGASA: เวนิง
พายุโซนร้อนเฟย์ (ยานิง)
พายุไต้ฝุ่นกลอเรีย (อานิง)
พายุโซนร้อนเฮสเตอร์
พายุไต้ฝุ่นเออร์มา (บีดัง)
พายุโซนร้อนจูดี
พายุโซนร้อนคิต (เดลัง)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง