หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยาในการศึกษาจักรวาลวิทยา หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา เป็นสมมุติฐานที่ใช้งานอยู่ในการอธิบายถึงโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล โดยระบุว่า
กล่าวโดยละเอียดดังนี้
หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยานี้ทำให้มีทฤษฎีทางจักรวาลที่เป็นไปได้เพียงจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้ผลสอดคล้องกับการสังเกตการณ์ คือ (1) การกระจายตัวของดาราจักรในอวกาศ (2) การกระจายตัวของแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุ และ (3) การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล[2][3] ปี ค.ศ. 1923 อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน พัฒนาสมการของไอน์สไตน์จากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป เพื่ออธิบายถึงสภาวะเอกภพที่กลมกลืนและสมมาตรในทุกทิศทางโดยมีลักษณะเป็นพลวัต ทฤษฎีของฟรีดแมนถูกนำมาใช้ในอีกไม่กี่ปีต่อมา โดยอาเทอร์ เอ็ดดิงตัน และฌอร์ฌ เลอแม็ทร์[4][5][6] อ้างอิง
|