Share to:

 

เดชาพล พัววรานุเคราะห์

เดชาพล พัววรานุเคราะห์
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเล่นบาส
ประเทศประเทศไทย
เกิด (1997-05-20) 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (27 ปี)
ชลบุรี ประเทศไทย
ส่วนสูง169 cm (5.54 ft)
มือที่ถนัดขวา
ชายคู่และคู่ผสม
อันดับโลกสูงสุด21 (ชายคู่ ร่วมกับ กิตตินุพงษ์ เกตุเรน 20 กรกฎาคม 2560)
1 (คู่ผสม ร่วมกับ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย 7 ธันวาคม 2564)[1]
อันดับโลกปัจจุบัน33 (คู่ผสม ร่วมกับ ศุภิสรา เพียวสามพราน 14 มกราคม 2568[2])
รายการเหรียญรางวัล
แบดมินตันชาย
ตัวแทนของ  ไทย
แบดมินตันชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อวยลวา 2021 คู่ผสม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บาเซิล 2019 คู่ผสม
ซูดีร์มันคัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หนานหนิง 2019 ทีมผสม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โกลด์โคสต์ 2017 ทีมผสม
ชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อู่ฮั่น 2017 คู่ผสม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อู่ฮั่น 2019 คู่ผสม
ทีมผสมชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 นครโฮจิมินห์ 2017 ทีมผสม
ซีเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กัวลาลัมเปอร์ 2017 ชายคู่
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กัวลาลัมเปอร์ 2017 คู่ผสม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 กัวลาลัมเปอร์ 2017 ทีมชาย
เยาวชนชิงแชมป์โลก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บิลบาโอ 2016 ชายคู่
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บิลบาโอ 2016 ทีมผสม
เอเชียนเกมส์เยาวชน
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ หนานจิง 2013 คู่ผสม
BWF profile

เรือตรี เดชาพล พัววรานุเคราะห์ (เกิด 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997) เป็นนักแบดมินตันชาวไทย[3] ได้รับรางวัลเหรียญทองในงานเวิลด์ จูเนียร์ แชมเปี้ยนชิพส์[4] เคยครองอันดับ 1 ของโลกในประเภทคู่ผสมกับทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย[5][6][7] เจ้าของเหรียญเงินและเหรียญทองรายการชิงแชมป์โลกคู่ผสม ในปี 2019 [en] และ 2021 [en] ตามลำดับ ซึ่งเป็นคู่ผสมคู่แรกของไทยที่ได้แชมป์โลก[8][9][10] นอกจากนี้ยังชนะเลิศรายการในเวิลด์ทัวร์ 3 รายการติดต่อกัน 2 ครั้งภายใน 1 ปี คือต้นปี 2021 ที่ประเทศไทย และในปลายปีที่ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย[11][12]

ชีวิตส่วนตัว

เดชาพลคบหาดูใจกับเอิร์ธ พุธิตา สุภจิรกุล อดีตนักแบดมินตันหญิงดีกรีทีมชาติไทยเป็นเวลา 2 ปี กระทั่งวันอังคารที่ 6 สิงหาคม 2567 เดชาพลที่เสร็จสิ้นภารกิจในโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ได้เดินทางกลับมายังประเทศไทยและคุกเข่าขอพุธิตาแต่งงาน[13]

ผลงาน

บีดับเบิลยูเอฟ ชิงแชมป์โลก

คู่ผสม

ปี สถานที่ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2019 St. Jakobshalle,
บาเซิล, สวิตเซอร์แลนด์
ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉยง
8–21, 12–21 Silver เหรียญเงิน
2021 Palacio de los Deportes Carolina Marín,
อวยลวา, สเปน
ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย ญี่ปุ่น ยูตะ วาตานาเบะ
ญี่ปุ่น อาริสะ ฮิงาชิโนะ
21–13, 21–14 Gold เหรียญทอง[14][15][16]

ชิงแชมป์เอเชีย

คู่ผสม

ปี สถานที่ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2017 อู่ฮั่นยิมเนเซียม,
อู่ฮั่น, จีน
ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย จีน หลู ไค
จีน หวง หย่าฉยง
18–21, 11–21 Silver เหรียญเงิน
2019 อู่ฮั่นยิมเนเซียม,
อู่ฮั่น, จีน
ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย จีน หวัง อี้ลวี่
จีน หวง ตงผิง
21–23, 10–21 Bronze เหรียญทองแดง

ซีเกมส์

ชายคู่

ปี สถานที่ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2017 Axiata Arena,
กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย
ไทย กิตตินุพงษ์ เกตุเรน มาเลเซีย อ่อง เยว ซิน
มาเลเซีย โตว อี ยี่
21–19, 20–22, 21–17 Gold เหรียญทอง

คู่ผสม

ปี สถานที่ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2017 Axiata Arena,
กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย
ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย มาเลเซีย โก๊ะ ซุน ฮวด
มาเลเซีย เชวอน เจมี ไล
21–15, 22–20 Gold เหรียญทอง

บีดับเบิลยูเอฟ เยาวชนชิงแชมป์โลก

เยาวชน ชายคู่

ปี สถานที่ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2014 Stadium Sultan Abdul Halim,
อาโลร์เซอตาร์, มาเลเซีย
ไทย กิตตินุพงษ์ เกตุเรน ญี่ปุ่น มาซาฮิเดะ นากะตะ
ญี่ปุ่น คัตสึกิ ทามะเตะ
21–16, 21–18 Gold เหรียญทอง

เอเชียนเกมส์เยาวชน

คู่ผสม

ปี สถานที่ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2013 Sport Institute Gymnasium,
หนานจิง, จีน
ไทย พุธิตา สุภจิรกุล ญี่ปุ่น มิโนรุ โคกะ
ญี่ปุ่น อาคาเนะ ยามากูจิ
19–21, 21–9, 17-21 Silver เหรียญเงิน

บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ (19 แชมป์, 12 รองแชมป์)

บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ ซึ่งถูกประกาศเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 2017 และเริ่มดำเนินการเมื่อปี 2018[17] เป็นรายการแข่งขันแบดมินตันระดับชั้นนำ รับรองโดย สหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) ทัวร์นาเมนต์ถูกแบ่งออกเป็นหลายระดับ ได้แก่ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์, ซูเปอร์ 1000, ซูเปอร์ 750, ซูเปอร์ 500, ซูเปอร์ 300 (ส่วนหนึ่งของ HSBC World Tour) และ ซูเปอร์ 100 [18]

คู่ผสม

ปี รายการ ระดับ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2018 ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 300 ไทย พุธิตา สุภจิรกุล มาเลเซีย ชาน เป็ง ซุน
มาเลเซีย โก๊ะ หลิว หยิง
15–21, 21–14, 16–21 2 รองชนะเลิศ
2018 เดนมาร์ก โอเพ่น ซูเปอร์ 750 ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉยง
16–21, 13–21 2 รองชนะเลิศ
2019 ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 300 มาเลเซีย ชาน เป็ง ซุน
มาเลเซีย โก๊ะ หลิว หยิง
16–21, 15–21 2 รองชนะเลิศ
2019 มาเลเซีย มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 500 ญี่ปุ่น ยูตะ วาตานาเบะ
ญี่ปุ่น อาริสะ ฮิงาชิโนะ
18–21, 18–21 2 รองชนะเลิศ
2019 สิงคโปร์ มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 500 มาเลเซีย ตัน เคียน เหม็ง
มาเลเซีย ไล่ เป่ย จิง
21–14, 21–6 1 ชนะเลิศ
2019 โคเรีย โอเพ่น ซูเปอร์ 500 จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉยง
21–14, 21–13 1 ชนะเลิศ
2019 มาเก๊า โอเพ่น ซูเปอร์ 300 จีนไทเป หวัง ฉีหลิน
จีนไทเป เจิ้ง ฉีหยา
21–11, 21–8 1 ชนะเลิศ
2020 ออลอิงแลนด์ โอเพ่น ซูเปอร์ 1000 อินโดนีเซีย ปราวีน จอร์แดน
อินโดนีเซีย เมลาตี ดาเอวา อ็อกตาเวียนติ
15–21, 21–17, 8–21 2 รองชนะเลิศ
2020 (I) ไทยแลนด์ โอเพ่น ซูเปอร์ 1000 21–3, 20–22, 21–18 1 ชนะเลิศ
2020 (II) ไทยแลนด์ โอเพ่น ซูเปอร์ 1000 เกาหลีใต้ ซอ ซึง-แจ
เกาหลีใต้ แช ยู-จุง
21–16, 22–20 1 ชนะเลิศ
2020 บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ 21–18, 8–21, 21–8 1 ชนะเลิศ
2021 เดนมาร์ก โอเพ่น ซูเปอร์ 1000 ญี่ปุ่น ยูตะ วาตานาเบะ
ญี่ปุ่น อาริสะ ฮิงาชิโนะ
18–21, 9–21 2 รองชนะเลิศ
2021 ไฮโล โอเพ่น ซูเปอร์ 500 อินโดนีเซีย ปราวีน จอร์แดน
อินโดนีเซีย เมลาตี ดาเอวา อ็อกตาเวียนติ
22–20, 21–14 1 ชนะเลิศ
2021 อินโดนีเซีย มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 750 ฮ่องกง ถัง ชุน หมัน
ฮ่องกง เซียะ อิ๋ง เสว่
21–11, 21–12 1 ชนะเลิศ
2021 อินโดนีเซีย โอเพ่น ซูเปอร์ 1000 ญี่ปุ่น ยูตะ วาตานาเบะ
ญี่ปุ่น อาริสะ ฮิงาชิโนะ
21–12, 21–13 1 ชนะเลิศ
2021 บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ 21–19, 21–11 1 ชนะเลิศ
2022 เยอรมัน โอเพ่น ซูเปอร์ 300 มาเลเซีย ตัน เคียน เหม็ง
มาเลเซีย ไล่ เป่ย จิง
21–11, 21–18 1 ชนะเลิศ[19]
2022 ไทยแลนด์ โอเพ่น ซูเปอร์ 500 จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉยง
12–21, 21–18, 14–21 2 รองชนะเลิศ
2022 มาเลเซีย โอเพ่น ซูเปอร์ 750 จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉยง
13–21, 18–21 2 รองชนะเลิศ
2022 สิงคโปร์ โอเพ่น ซูเปอร์ 500 จีน หวัง อี้ลวี่
จีน หวง ตงผิง
21–12, 21–17 1 ชนะเลิศ
2022 เจแปน โอเพน ซูเปอร์ 750 ญี่ปุ่น ยูตะ วาตานาเบะ
ญี่ปุ่น อาริสะ ฮิงาชิโนะ
16–21, 23–21, 21–18 1 ชนะเลิศ
2022 บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉยง
19–21, 21–18, 13–21 2 รองชนะเลิศ
2023 มาเลเซีย มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 500 จีน Feng Yanzhe
จีน Huang Dongping
16–21, 21–13, 21–18 1 ชนะเลิศ
2023 ไทยแลนด์ โอเพ่น ซูเปอร์ 500 เกาหลีใต้ Kim Won-ho
เกาหลีใต้ Jeong Na-eun
21–11, 19–21, 20–22 2 รองชนะเลิศ
2023 เจแปน โอเพ่น ซูเปอร์ 750 ญี่ปุ่น ยูตะ วาตานาเบะ
ญี่ปุ่น อาริสะ ฮิงาชิโนะ
21–17, 16–21, 15–21 2 รองชนะเลิศ
2024 อินเดีย โอเพ่น ซูเปอร์ 750 จีน Jiang Zhenbang
จีน Wei Yaxin
21–16, 21–16 1 ชนะเลิศ
2024 ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 300 มาเลเซีย Chen Tang Jie

มาเลเซีย Toh Ee Wei

21–12, 21–18 1 ชนะเลิศ
2024 เจแปน มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 500 ไทย ศุภิสรา เพียวสามพราน ฝรั่งเศส Thom Gicquel
ฝรั่งเศส Delphine Delrue
21–16, 10–21, 21–17 1 ชนะเลิศ
2024 ไซเอ็ด โมดี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ซูเปอร์ 300 อินเดีย Dhruv Kapila
อินเดีย Tanisha Crasto
18–21, 21–14, 21–8 1 ชนะเลิศ
2025 มาเลเซีย โอเพ่น ซูเปอร์ 1000 จีน Feng Yanzhe
จีน Huang Dongping
21–13, 19–21, 21–18 1 ชนะเลิศ

บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ (1 รองแชมป์)

บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ เปิดตัวเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2006 และดำเนินการเมื่อปี 2007[20] เป็นรายการแข่งขันแบดมินตันระดับชั้นนำ รับรองโดย สหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) โดยระดับของซูเปอร์ซีรีส์ ได้แก่ ซูเปอร์ซีรีส์ และซูเปอร์ซีรีส์ พรีเมียร์ ในแต่ละฤดูกาลประกอบไปด้วย 12 ทัวร์นาเมนต์ทั่วโลก ซึ่งถูกเปิดตัวตั้งแต่ปี 2011[21] ผู้เล่นที่ประสบความสำเร็จจะเข้าไปแข่งขันในซูเปอร์ซีรีส์ ไฟนัลส์ ซึ่งจะจัดขึ้นในทุก ๆ สิ้นปี

คู่ผสม

ปี รายการ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2017 สิงคโปร์ โอเพ่น ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย จีน หลู ไค
จีน หวง หย่าฉยง
21–19, 16–21, 11–21 2 รองชนะเลิศ
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ไฟนัลส์
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ พรีเมียร์
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์

บีดับเบิลยูเอฟ กรังปรีซ์ (1 แชมป์, 3 รองแชมป์)

บีดับเบิลยูเอฟ กรังปรีซ์ มีทั้งหมด 2 ระดับ คือ กรังปรีซ์ และกรังปรีซ์ โกลด์ ซึ่งเป็นซีรีส์ของการแข่งขันแบดมินตัน รับรองโดยสหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) มีการแข่งขันในระหว่าง ค.ศ. 2007 และ 2017

คู่ผสม

ปี รายการ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2016 ไซเอ็ด โมดี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย อินโดนีเซีย ปราวีน จอร์แดน
อินโดนีเซีย เด็บบี้ ซูซานโต
25–23, 9–21, 16–21 2 รองชนะเลิศ
2016 โคเรีย มาสเตอร์ส ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย เกาหลีใต้ โก ซอง-ฮยอน
เกาหลีใต้ คิม ฮา-นา
19–21, 16–21 2 รองชนะเลิศ
2017 ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย จีน จาง หนาน
จีน หลี่ หยิน ฮุ่ย
11–21, 22–20, 13–21 2 รองชนะเลิศ
2017 สวิส โอเพ่น ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย อินโดนีเซีย ปราวีน จอร์แดน
อินโดนีเซีย เด็บบี้ ซูซานโต
21–18, 21–15 1 ชนะเลิศ
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ กรังปรีซ์ โกลด์
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ กรังปรีซ์

บีดับเบิลยูเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล ชาลเลนจ์/ซีรีส์ (2 รองแชมป์)

ชายคู่

ปี รายการ คู่นักกีฬา คู่ต่อสู้ คะแนน ผลการแข่งขัน
2014 การการแข่งขันแบดมินตันนานาชาติ ปุ้มปุ้ยแชมเปี้ยนชิพ ไทย กิตตินุพงษ์ เกตุเรน ไทย วัชระ บูรณะเครือ
ไทย ตราวุธ โพธิ์เที่ยง
21–12, 18–21, 14–21 2 รองชนะเลิศ
2016 โปลิช โอเพ่น ไทย กิตตินุพงษ์ เกตุเรน อินโดนีเซีย Hardianto
อินโดนีเซีย Kenas Adi Haryanto
5–21, 21–18, 15–21 2 รองชนะเลิศ
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล ชาลเลนจ์
  การแข่งขัน บีดับเบิลยูเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล ซีรีส์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ""เดชาพล-ทรัพย์สิรี" ผงาดเบอร์ 1 โลกอย่างเป็นทางการ". MGR. 7 December 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2021. สืบค้นเมื่อ 10 January 2022.
  2. ""บาส-เฟม"ยึดคู่มือ 33 โลก "วิว กุลวุฒิ" ขึ้นท็อป 4 อันดับแบดมินตันโลก". siamsport. 15 January 2025. สืบค้นเมื่อ 15 January 2025.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. "Players: Puavaranukroh DECHAPOL". bwfbadminton.com. Badminton World Federation. สืบค้นเมื่อ 20 August 2016.
  4. "ชายคู่ไทย ผงาด! อนาคตดังได้อีก". www.thairath.co.th. Thai Rath. สืบค้นเมื่อ 14 February 2017.
  5. ""บาส-ปอป้อ"ผงาดขึ้นครองคู่ผสมมือ1ของโลกอย่างเป็นทางการ". siamsport. สืบค้นเมื่อ 7 December 2021.
  6. "แรงสุด! "บาส-ป้อ" ผลงานกระฉูด ปราบญี่ปุ่นซิวแชมป์ 4 รายการติด". mgronline. สืบค้นเมื่อ 7 December 2021.
  7. "Dechapol, Sapsiree earn a shot at second hat-trick" (ภาษาอังกฤษ). bangkokpost. สืบค้นเมื่อ 7 December 2021.
  8. "มอบของขวัญส่งท้ายปี! บาส -ปอป้อ คว้า8 แชมป์ในปี 2021 ครองมือวางอันดับ1ของโลก". True ID. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 7 January 2022.
  9. "Badminton mixed doubles win first world championship" (ภาษาอังกฤษ). bangkokpost. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 7 January 2022.
  10. "Dechapol and Sapsiree make history" (ภาษาอังกฤษ). bangkokpost. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 7 January 2022.
  11. "Mixed doubles Thai badminton stars retain World Tour Finals crown" (ภาษาอังกฤษ). thethaiger.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 7 January 2022.
  12. "Dechapol and Sapsiree reach first Super Series final" (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 7 January 2022.
  13. "คู่รักคนกีฬา! "บาส เดชาพล" ขอ "เอิร์ธ พุธิตา" แต่งงานหลังจบโอลิมปิกเกมส์ 2024". sanook.com.
  14. "BREAKTHROUGH TITLES FOR THAILAND, JAPAN". /bwfworldchampionships.bwfbadminton.com (ภาษาอังกฤษ). BWF. สืบค้นเมื่อ 20 December 2021.
  15. "ประวัติศาสตร์! "บาส-ปอป้อ" ขยี้คู่ญี่ปุ่น2เกม ผงาดแชมป์โลกยิ่งใหญ่". www.siamsport.co.th. siamsport. สืบค้นเมื่อ 20 December 2021.
  16. "กระหึ่มโลก! "บาส-ปอป้อ" ท็อปฟอร์มคว่ำคู่ญี่ปุ่น คว้าแชมป์โลกแบดฯคู่ผสม". www.bangkokbiznews.com. bangkokbiznews.
  17. Alleyne, Gayle (19 March 2017). "BWF Launches New Events Structure". Badminton World Federation (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2017. สืบค้นเมื่อ 29 November 2017.
  18. Sukumar, Dev (10 January 2018). "Action-Packed Season Ahead!". Badminton World Federation (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2018. สืบค้นเมื่อ 15 January 2018.
  19. บาส-ปอป้อ ไล่ถลุงคู่จีนยับซิวแชมป์แบดเยอรมัน โอเพ่น
  20. "BWF Launches Super Series". Badminton Australia (ภาษาอังกฤษ). 15 December 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2007.
  21. "Yonex All England Elevated To BWF Premier Super Series Event". IBadmintonstore (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 October 2013. สืบค้นเมื่อ 29 September 2013.
  22. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๔, เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒ ข หน้า ๒๕, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya