Share to:

 

แฮมีด นอเดรี เยกอเน

แฮมีด นอเดรี เยกอเน
แฮมีด นอเดรี เยกอเน ยืนหน้างานศิลปะที่มีชื่อว่า "อะเบิร์ดอินไฟลต์"
เกิด26 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 (34 ปี)
โกม ประเทศอิหร่าน
สัญชาติอิหร่าน
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแชรีฟ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต)
มหาวิทยาลัยโกม (วิทยาศาสตรบัณฑิต)
มีชื่อเสียงจากศิลปะคณิตศาสตร์
ผลงานเด่นอะเบิร์ดอินไฟลต์, เรือ, แฟร็กทัลแอฟริกา

แฮมีด นอเดรี เยกอเน (เปอร์เซีย: حمید نادری یگانه; เกิดวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ในประเทศอิหร่าน)[1] เป็นศิลปินคณิตศาสตร์และศิลปินดิจิทัลชาวอิหร่าน[2][3][4][5][6][7] เขาเป็นที่รู้จักจากการใช้สูตรคณิตศาสตร์วาดภาพวัตถุในชีวิตจริง, ภาพประกอบที่ซับซ้อน, แอนิเมชัน, แฟร็กทัล และเทสเซลเลชัน[8][9][10][11][12] นอเดรี เยกอเนใช้คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือหลักในการสร้างสรรค์ผลงาน[13] ดังนั้น ผลงานของเขาจึงมีแนวคิดแบบคณิตศาสตร์[2][14][15] แนวคิดคณิตศาสตร์ที่เขาใช้ในผลงาน ได้แก่ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ, ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง, จำนวนฟีโบนัชชี และคลื่นฟันเลื่อย เป็นต้น[16][17][18][19]

ภาพ

ข้างล่างนี้คือตัวอย่างภาพบางส่วนของเยกอเน:[20]

อ้างอิง

  1. مصاحبه با آقاي حميد نادري يگانه برنده ي مدال طلاي مسابقات رياضي دانشجويان سراسر كشور و آقاي دكتر سيد محمد طباطبايي سرپرست تيم رياضي دانشگاه [Interview with Mr. Hamid Naderi Yaganeh, the only winner of the gold medal in the mathematics competitions of students all over the country, and Mr. Dr. Seyed Mohammad Tabatabayi, the head of the university's mathematics team.] (ภาษาเปอร์เซีย). University of Qom. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 มีนาคม 2017.
  2. 2.0 2.1 Zhao, Han (7 พฤษภาคม 2018). "Can an algorithm be art?". Christian Science Monitor. ISSN 0882-7729. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 พฤษภาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2018.
  3. Crum, Maddie (18 สิงหาคม 2015). "These Delicate Drawings Are The Handiwork Of A Very Smart Computer". The Huffington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 สิงหาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2015.
  4. Smith, Belinda (29 กุมภาพันธ์ 2016). "The art and beauty of mathematics". Cosmos. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 พฤษภาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2016.
  5. Antonick, Gary (5 มกราคม 2015). "The Chess Master". The New York Times (blog). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มีนาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2015.
  6. Gustlin, Deborah. "15.4: Digital Art". LibreTexts. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 มีนาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2020.
  7. "When Art and Math Entwine: 10 Inspiring Works Showcase the Aesthetic Side of Math". Research & Development World. WTWH Media LLC. 23 กุมภาพันธ์ 2016. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2020.
  8. MacDonald, Fiona (19 กุมภาพันธ์ 2016). "7 times mathematics became art and blew our minds". Science Alert. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 มกราคม 2017. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2017.
  9. Chung, Stephy (18 กันยายน 2015). "Next da Vinci? Math genius using formulas to create fantastical works of art". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2017. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม 2017.
  10. Ash, Summer (24 มกราคม 2016). "Week in Geek: Theoretical planet edition". MSNBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2020. สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2020.
  11. Passaro, Davide. "Matematica e arti visive: percorsi interdisciplinari fra matematica, arte e coding". Maddmaths!. SIMAI Società Italiana di Matematica Applicata e Industriale. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2019. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2019.
  12. Grandi, C. (พฤษภาคม 2020). "Using Art to Teach Mathematics". Mathematics in School. Mathematical Association. 49 (3): 2–7.
  13. 林桂光 (24 ตุลาคม 2020). 編程的技術應用與學習表現 [Application of Programming Technology and Learning Performance]. Master-insight.com (ภาษาจีน). สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2020.
  14. "STEAM Series: Math and Art" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). West Windsor Arts Council. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 กรกฎาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2019.
  15. "West Windsor Arts Center- Opening Reception For STEAM". CentralJersey.com (ภาษาอังกฤษ). Packet Media, LLC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 กรกฎาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2019.
  16. "Teaching Coding Languages in Noncoding Courses". New York University, Faculty of Arts & Science. 6 กันยายน 2019. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2020.
  17. Naderi Yeganeh, Hamid. "Importing Things From the Real World Into the Territory of Mathematics!" (blog). Huffington Post.
  18. "Hamid Naderi Yeganeh: Fractal Africa". The De Morgan Forum – London Mathematical Society. 21 กันยายน 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 ตุลาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2016.
  19. Naderi Yeganeh, Hamid. "Using the Sawtooth Wave to Create Some Beautiful Images". HuffPost. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2020.
  20. "Mathematical Concepts Illustrated by Hamid Naderi Yeganeh". American Mathematical Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 กรกฎาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น


Kembali kehalaman sebelumnya