Share to:

 

โค่วโถว

โค่วโถว
การโค่วโถวในพิธีศพแบบจีน
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวเต็ม叩頭 หรือ 磕頭
อักษรจีนตัวย่อ叩头 หรือ 磕头
ฮั่นยฺหวี่พินอินkòutóu หรือ kētóu
ความหมายตามตัวอักษรโขกศีรษะ, แตะศีรษะ
ชื่อภาษาเวียดนาม
ภาษาเวียดนามquỳ lạy
khấu đầu
ฮ้าน-โนม跪𥚄
จื๋อฮ้าน叩頭
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
ฮันจา
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
คันจิ叩頭 หรือ 磕頭(นาม); 叩頭く (กริยา)
ฮิรางานะこうとう หรือ かいとう (นาม); ぬかずく หรือ ぬかつく (กริยา) หรือ ぬかづく (กริยา)
การถอดเสียง
โรมาจิkōtō or historical kaitō (นาม); nukazuku or nukatsuku or nukadzuku (กริยา)

โค่วโถว (จีน: 叩頭) เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงโดยการหมอบกราบ คือการคุกเข่าและก้มศีรษะลงถึงพื้น ในวัฒนธรรมเขตจีน การโค่วโถวเป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงที่สุด การมีใช้อย่างแพร่หลายเพื่อใช้แสดงความเคารพต่อผู้อาวุโส ผู้บังคับบัญชา หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งจักรพรรดิจีน เช่นเดียวกับวัตถุสักการะทางศาสนาและวัฒนธรรม ในยุคปัจจุบัน การโค่วโถวมีการใช้ที่ลดลง[1]

ศัพทวิทยา

คำว่า "โค่วโถว" เขียนเป็นอักษรจีนว่า 叩頭/叩头 (ยฺหวิดเพ็ง: kau3 tau4; พินอิน: kòutóu) มีอีกคำเรียกหนึ่งว่า "เคอโถว" เขียนเป็นอักษรจีนว่า 磕頭/磕头 (พินอิน: kētóu; ยฺหวิดเพ็ง: hap6 tau4) แต่ความหมายของตัวอักษรมีความแตกต่างกัน โดย มีความหมายโดยทั่วไปว่า "เคาะ" หรือ "โขก" ส่วน มีความหมายว่าทั่วไปว่า "แตะบน (พื้นผิว)" และ / มีความหมายว่าศีรษะ ต้นกำเนิดของธรรมเนียมนี้น่าจะอยู่ในช่วงยุควสันตสารทหรือยุครณรัฐของประวัติศาสตร์จีน (771–221 ก่อนคริสตกาล) เพราะเป็นธรรมเนียมที่มีสมัยราชวงศ์ฉิน (221 – 206 ก่อนคริสตกาล)[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

รายการอ้างอิง

  1. Kipnis, Andrew B. (1997). "Kowtowing". Producing Guanxi: Sentiment, Self, and Subculture in a North China Village (ภาษาอังกฤษ). Duke University Press. pp. 75–83. ISBN 978-0-8223-1873-6.
  2. Ge Feng; Zhengming Du (2016). Traditional Chinese Rites and Rituals. Cambridge Scholars Publishing. p. 110. ISBN 9781443887830.

บรรณานุกรม

  • Fairbank, John K., and Ssu-yu Teng. "On the Ch'ing tributary system." Harvard Journal of Asiatic Studies 6.2 (1941): 135–246. online
  • Frevert, Ute. "Kneeling and the Protocol of Humiliation." in by Benno Gammerl, Philipp Nielsen, and Margrit, eds. Encounters with Emotions: Negotiating Cultural Differences since Early Modernity (2019): pp. 133–159 excerpt.
  • Gao, Hao. "The "Inner Kowtow Controversy" During the Amherst Embassy to China, 1816–1817." Diplomacy & Statecraft 27.4 (2016): 595–614.
  • Hevia, James L. "‘The ultimate gesture of deference and debasement’: kowtowing in China." Past and Present 203.suppl_4 (2009): 212–234.
  • Pritchard, Earl H. "The kotow in the Macartney embassy to China in 1793." Journal of Asian Studies 2.2 (1943): 163–203. online
  • Reinders, Eric (2015). Buddhist and Christian Responses to the Kowtow Problem in China. Bloomsbury Publishing. p. 139. ISBN 9781474227292.
  • Rockhill, William Woodville. "Diplomatic Missions to the Court of China: The Kotow Question I," The American Historical Review, Vol. 2, No. 3 (Apr. 1897), pp. 427–442. online
  • Rockhill, William Woodville. "Diplomatic Missions to the Court of China: The Kotow Question II," The American Historical Review, Vol. 2, No. 4 (Jul. 1897), pp. 627–643. online

แหล่งข้อมูลอื่น

  • นิยามแบบพจนานุกรมของ kowtow ที่วิกิพจนานุกรม
Kembali kehalaman sebelumnya