Share to:

 

โมกาดิชู

โมกาดิชู
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: อนุสาวรีย์ซัยยิด มุฮัมมัด อับดุลลอฮ์ ฮะซัน, หาดลิโด, ท่าเรือประมงเก่า และมัสยิดอิสบาฮัยซีกา
ตามเข็มนาฬิกาจากบน: อนุสาวรีย์ซัยยิด มุฮัมมัด อับดุลลอฮ์ ฮะซัน, หาดลิโด, ท่าเรือประมงเก่า และมัสยิดอิสบาฮัยซีกา
ธงของโมกาดิชู
ธง
สมญา: 
ฮามาร์
โมกาดิชูตั้งอยู่ในโซมาเลีย
โมกาดิชู
โมกาดิชู
ที่ตั้งในประเทศโซมาเลีย
โมกาดิชูตั้งอยู่ในแอฟริกา
โมกาดิชู
โมกาดิชู
ที่ตั้งนทวีปแอฟริกา
พิกัด: 02°02′21″N 45°20′31″E / 2.03917°N 45.34194°E / 2.03917; 45.34194
ประเทศ โซมาเลีย
แคว้นบานาดีร์
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 1[1]
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีOmar M. Finnish
ประชากร
 (2021)[2]
 • เขตเมือง2,388,000 คน
เขตเวลาUTC+3 (เวลาแอฟริกาตะวันออก)
ภูมิอากาศBSh
เอชดีไอ (2019)0.459[3]
ต่ำ อันดับที่ 1

โมกาดิชู (โซมาลี: Muqdisho, แม่แบบ:IPA-so; อาหรับ: مقديشو, Maq(a)dīshū; อิตาลี: Mogadiscio, [moɡaˈdiʃʃo]) คนท้องถิ่นเรียก ฮามาร์ (Xamar, แม่แบบ:IPA-so) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศโซมาเลีย เป็นเมืองท่าทางทะเล ในภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย โดยมีประชากรรประมาณ 2,388,000 คน (2021)[2]

เมืองนี้สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 โดยชาวอาหรับ เป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญ ตกเป็นของสุลต่านแห่งแซนซิบาร์โน ใน ค.ศ. 1871 ต่อมาให้อิตาลีเช่าใน ค.ศ. 1892 แล้วขายให้อิตาลีใน ค.ศ. 1905 กลายเป็นเมืองหลวงของดินแดนโซมาลีแลนด์อิตาลี เป็นที่ตั้งฐานที่มั่นกองกำลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติเพื่อช่วยเหลือบรรเทาความอดอยากในปลาย ค.ศ. 1992 ถึงกลาง ค.ศ. 1994

ศัพทมูล

มีทฤษฎีเกี่ยวกับต้นกำเนิดของชื่อ Mogadishu (Muqdisho) หลายแบบ แต่ส่วนใหญ่ถือว่าน่าจะมาจากวิทยาหน่วยคำของศัพท์ภาษาโซมาลีว่า "Muuq" กับ "Disho" แปลตรงตัวว่า "นักฆ่าสายตา" หรือ "คนตาบอด" ซึ่งน่าจะสื่อถึงความงามของตัวเมืองที่ทำให้ตาพร่า[5] อีกทฤษฎีหนึ่งกล่าวแนะถึงศัพท์ภาษาเปอร์เซียว่า แมกแอดีชอฮ์ (مقعد شاه) ซึ่งหมายถึง "ที่ประทับของชาฮ์"[6] และอีกทฤษฎีอื่นระบุว่าชื่อเมืองมาจากรากภาษาอาหรับว่า 'mqds' ซึ่งหมายถึง "(สถานที่) ศักดิ์สิทธิ์" แต่สถานที่นี้กลับโบราณเกินไป Leo Africanus นักสำรวจในคริสต์ศตวรรษที่ 16 รู้จักเมืองนี้ในชื่อ Magadazo (Magadoxo)[7]

เมืองพี่น้อง

ประเทศ เมือง
 คาซัคสถาน อัลมาเตอ[8]
 ตุรกี อังการา[9]
 สหรัฐอเมริกา เซนต์พอล[10]

อ้างอิง

  1. An introduction to Somali history from 5000 years B.C. down to the present time By Mohamed Jama p. 19
  2. 2.0 2.1 "Somalia". The World Factbook. CIA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-01. สืบค้นเมื่อ 2021-06-06.
  3. "Sub-national HDI – Area Database – Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-23. สืบค้นเมื่อ 2020-12-03.
  4. "Demographia World Urban Area" (PDF) (13 ed.). Demographia. April 2017. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 October 2016. สืบค้นเมื่อ 20 December 2017.
  5. Horn of Africa – Volume 2, Issue 4 – Page 34, 1979
  6. "David D. Laitin and Said S. Samatar. <italic>Somalia: Nation in Search of a State</italic>. (Profiles/Nations of Contemporary Africa.) Boulder, Colo.: Westview or Gower, London. 1987. Pp. xvii, 198. $28.00". The American Historical Review. October 1989. doi:10.1086/ahr/94.4.1148. ISSN 1937-5239.
  7. Leo Africanus (1526). The History and Description of Africa. Hakluyt Society. pp. 51–54. สืบค้นเมื่อ 15 July 2017.
  8. USSR and Third World, Volume 3. Central Asian Research Centre. 1973. p. 209. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-11. สืบค้นเมื่อ 2016-02-27.
  9. "Twin Cities of Ankara". Greater Municipality of Ankara. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2018. สืบค้นเมื่อ 12 October 2014.
  10. "Twin Cities of Minnesota". 10 May 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 April 2021. สืบค้นเมื่อ 21 May 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya