ไชนีสซูเปอร์ลีก (จีนตัวย่อ: 中国足球协会超级联赛; จีนตัวเต็ม: 中國足球協會超級聯賽; พินอิน: Zhōngguó Zúqiú Xiéhuì Chāojí Liánsài), ซูเปอร์ลีกที่ถูกสร้างขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลจีนมาแทนลีกเดิมที่มีชื่อว่า เจีย-เอลีก (Jia-A League) ในปี 2547 โดยเริ่มต้นมีเพียง 12 ทีมเข้าร่วมการแข่ง จนกระทั่งในปี 2552 ได้เพิ่มจำนวนทีมเข้าร่วมเป็น 16 ทีม
ผู้สนับสนุน
- 2547: Siemens (ซีเมนส์ ไชนีสซูเปอร์ลีก)
- 2548: ไม่มีผุ้สนับสนุน (ไชนีสซูเปอร์ลีก)
- 2549: iPhox (ไอพอก ไชนีสซูเปอร์ลีก)
- 2550 ถึง 2551: Kingway (คิงเวย์ ไชนีสซูเปอร์ลีก)
- 2552 ถึง 2553: Pirelli (พิเรลลี่ ไชนีสซูเปอร์ลีก)
- 2554 ถึง 2556: Wanda Plaza (ว่านต๋า ไชนีสซูเปอร์ลีก)
- 2557 ถึง 2565: Ping An Insurance (ไชนา ผิงอัน ไชนีสซูเปอร์ลีก)
ประวัติ
สโมสรในซูเปอร์ลีก
ที่ตั้งของทีมใน ไชนีสซูเปอร์ลีก
สโมสร
|
ชื่อภาษาจีน
|
สถานที่ตั้ง
|
สนามเหย้า
|
ความจุ
|
ฤดูกาลในลีกสูงสุด
|
อันดับที่ดีที่สุด
|
อันดับที่แย่ที่สุด
|
ลีกสูงสุดตั้งแต่
|
เป่ย์จิง เหรินเหอ
|
北京人和
|
ปักกิ่ง
|
สนามกีฬาเป่ย์จิงเฟิงไถ
|
31,043
|
2004-2015, 2018
|
อันดับ 3 (2004)
|
อันดับ 15 (2015)
|
2018
|
เป่ย์จิง กั๋วอัน
|
北京中赫国安
|
ปักกิ่ง
|
เวิร์กเกอร์สเตเดียม
|
66,000
|
2004-ปัจจุบัน
|
อันดับ 1 (2009)
|
อันดับ 9 (2017)
|
2004
|
ฉางชุน ย่าไท่
|
长春亚泰
|
ฉางชุน
มณฑลจี๋หลิน
|
สนามกีฬานครฉางชุน
|
38,500
|
2006-ปัจจุบัน
|
อันดับ 1 (2007)
|
อันดับ 14 (2013)
|
2006
|
ฉงชิ่ง ตางไต้ลี่ฟาน
|
重庆当代力帆
|
ฉงชิ่ง
|
ฉงชิ่งโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์
|
58,600
|
2004-2006, 2009-2010, 2015-ปัจจุบัน
|
อันดับ 8 (2015, 2016)
|
อันดับ 16 (2009)
|
2015
|
ต้าเหลียน อีฟาง
|
大连一方
|
ต้าเหลียน
มณฑลเหลียวหนิง
|
ต้าเหลียนสปอร์ตเซ็นเตอร์
|
61,000
|
2012-2014, 2018
|
อันดับ 5 (2012, 2013)
|
อันดับ 15 (2014)
|
2018
|
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ เถาเป่า
|
广州恒大淘宝
|
กว่างโจว
มณฑลกวางตุ้ง
|
สนามกีฬาเทียนเหอ
|
58,500
|
2008-2009, 2011-ปัจจุบัน
|
อันดับ 1 (2011-2017)
|
อันดับ 9 (2009)
|
2011
|
กว่างโจว อาร์แอนด์เอฟ
|
广州富力
|
กว่างโจว
มณฑลกวางตุ้ง
|
สนามกีฬาเยว่ซิ่วซาน
|
18,000
|
2004-2010, 2012-ปัจจุบัน
|
อันดับ 3 (2014)
|
อันดับ 16 (2010)
|
2012
|
กุ้ยโจว เหิงเฟิง
|
贵州恒丰
|
กุ้ยหยาง
มณฑลกุ้ยโจว
|
กุ้ยหยางโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์
|
52,888
|
2017-ปัจจุบัน
|
อันดับ 8 (2017)
|
2017
|
เหอเป่ย์ ซีเอฟเอฟซี
|
河北华夏幸福
|
หลางฝาง
มณฑลเหอเป่ย์
|
สนามกีฬาหลางฝาง
|
30,040
|
2016-ปัจจุบัน
|
อันดับ 4 (2017)
|
อันดับ 7 (2016)
|
2016
|
เหอหนาน เจี้ยนเย่
|
河南建业
|
เจิ้งโจว
มณฑลเหอหนาน
|
สนามกีฬาเจิ้งโจวหางไห่
|
29,800
|
2007-2012, 2014-ปัจจุบัน
|
อันดับ 3 (2009)
|
อันดับ 16 (2012)
|
2014
|
เจียงซู ซูหนิง
|
江苏苏宁
|
หนานจิง
มณฑลเจียงซู
|
หนานจิงโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์
|
62,000
|
2009-ปัจจุบัน
|
อันดับ 2 (2012, 2016)
|
อันดับ 13 (2013)
|
2009
|
ซานตง หลู่เนิ่ง ไท่ซาน
|
山东鲁能泰山
|
จี่หนาน
มณฑลซานตง
|
จี่หนานโอลิมปิกสปอร์ตเซ็นเตอร์
|
56,800
|
2004-ปัจจุบัน
|
อันดับ 1 (2006, 2008, 2010)
|
อันดับ 14 (2016)
|
2004
|
เซี่ยงไฮ้ กรีนแลนด์ เสิ่นหัว
|
上海绿地申花
|
เซี่ยงไฮ้
|
สนามฟุตบอลหงโข่ว
|
33,000
|
2004-ปัจจุบัน
|
อันดับ 2 (2005, 2006, 2008)
|
อันดับ 11 (2011, 2017)
|
2004
|
เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
|
上海上港
|
เซี่ยงไฮ้
|
เซี่ยงไฮ้สเตเดียม
|
56,800
|
2013-ปัจจุบัน
|
อันดับ 2 (2015, 2017)
|
อันดับ 9 (2013)
|
2013
|
เทียนจิน ฉวนเจียน
|
天津权健
|
เทียนจิน
|
สนามฟุตบอลเพื่อการศึกษาห่ายเหอ
|
30,000
|
2017-ปัจจุบัน
|
อันดับ 3 (2017)
|
2017
|
เทียนจิน ไท่ต้า
|
天津泰达
|
เทียนจิน
|
เทียนจินโอลิมปิกเซ็นเตอร์
|
54,700
|
2004-ปัจจุบัน
|
อันดับ 2 (2010)
|
อันดับ 13 (2015, 2017)
|
2004
|
ทีมชนะเลิศ
ไชนีสซูเปอร์ลีก
เจีย-เอลีก
สโมสรที่ประสบความสำเร็จ
สโมสร |
ชนะเลิศ (ครั้ง) |
รองชนะเลิศ (ครั้ง) |
ฤดูกาลที่ชนะเลิศ |
ฤดูกาลที่ได้รองชนะเลิศ
|
กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
|
8
|
2
|
2011, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017,2019
|
2018,2020
|
Dalian Shide
|
8
|
0
|
1994, 1996, 1997, 1998, 2000, 2001, 2002, 2005
|
|
ชานตงไท่ชาน
|
4
|
4
|
2006, 2008, 2010, 2021
|
2004, 2013, 2022, 2023
|
เซี่ยงไฮ้พอร์ต
|
3
|
3
|
2018, 2023,2024
|
2015, 2017, 2021
|
เซี่ยงไฮ้ เซินฮัว
|
1
|
9
|
1995
|
1996, 1997, 1998, 2000, 2001, 2005, 2006, 2008,2024
|
ปักกิ่ง กั๋วอัน
|
1
|
4
|
2009
|
1995, 2007, 2011, 2014
|
เจียงซูซูหนิง
|
1
|
2
|
2020
|
2012, 2016
|
Shenzhen Ruby
|
1
|
1
|
2004
|
2002
|
Changchun Yatai
|
1
|
1
|
2007
|
2009
|
Liaoning Whowin
|
0
|
1
|
|
1999
|
Guizhou Renhe
|
0
|
1
|
|
2003
|
Tianjin Teda
|
0
|
1
|
|
2010
|
รางวัล
รางวัลอย่างเป็นทางการจาก CSL ผู้เล่นยอดเยี่ยม ผู้จัดการ และ กรรมการประจำฤดูกาล ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของพวกเขาในช่วงฤดูนั้น
รางวัล มิสเตอร์ ฟุตบอลลีก โกล์เด้นบอล
รางวัลดาวซัลโวโกล์เด้นบูต
รางวัลดาวซัลโวสำหรับนักแตะจีน
รางวัลกรรมการยอดเยี่ยมประจำปี
รางวัลผู้จัดการทีมยอดเยี่ยมประจำปี
รางวัลเยาวชนยอดเยี่ยมประจำปี
นักเตะทรงคุณค่าของลีก
รางวัลนักเตะทรงคุณค่าของลีก มีชื่อว่า มิสเตอร์ ฟุตบอลลีก โกล์เด้นบอล
ผู้ทำประตูสูงสุด
รางวัลดาวซัลโว"รางวัล โกล์เด้นบูต"
ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม
ที่ได้รับรางวัลไม่จำเป็นต้องไปที่ผู้ฝึกสอนของทีมชนะเลิศ
ทีมชนะเลิศลีกสำรอง
ในช่วงที่ลีกสุดของยังใช้ชื่อเจีย-เอลีก (Jia-A League), ลีกทีมสำรองมีชื่อเรียกว่า "โอลิมปิก ลีก" หรือว่า "โคคา-โคล่า ลีก", และไม่มีการแข่งขันลีกสำรองในฤดูกาล 2547 กับ 2548 ของไชนีสซูเปอร์ลีก และกลับมาเริ่มลีกสำรองกันโดยร่วมเอาทีมจากไชนีสซูเปอร์ลีก ไชนีสลีก 1 และ ไชนีสลีก 2 เข้าแข่งขัน
ทีมชนะเลิศลีกเยาวชน
มีลักษณะการจัดการเหมือนกับลีกทีสำรอง ในช่วงแรกใช้ชื่อรายการแข่งขันว่า "แอดดิดาสลีก" จนกระทั่งในปี 2548 ได้เปลี่ยนมาเป็น "ไนกี้ลีก"
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
สโมสรในฤดูกาล 2025 | | |
---|
สโมสรที่เคยอยู่ในไชนีสซูเปอร์ลีก | |
---|
สโมสรในอดีต | |
---|
ลีกฟุตบอลสูงสุดของทวีปเอเชีย ( เอเอฟซี) |
---|
ปัจจุบัน | |
---|
อดีต | |
---|
† สมาชิกของ Associate Member Association |
|