ไนอาซิน
|
|
|
ชื่อ
|
Pronunciation
|
|
Preferred IUPAC name
Pyridine-3-carboxylic acid [1]
|
ชื่ออื่น
- Nicotinic acid (INN)
- Bionic
- Vitamin B3
- Vitamin PP
|
เลขทะเบียน
|
|
|
|
|
3DMet
|
|
|
109591
|
ChEBI
|
|
ChEMBL
|
|
เคมสไปเดอร์
|
|
ดรักแบงก์
|
|
ECHA InfoCard
|
100.000.401
|
EC Number
|
|
|
3340
|
|
|
KEGG
|
|
MeSH
|
Niacin
|
|
|
RTECS number
|
|
UNII
|
|
|
|
InChI=1S/C6H5NO2/c8-6(9)5-2-1-3-7-4-5/h1-4H,(H,8,9) YKey: PVNIIMVLHYAWGP-UHFFFAOYSA-N YInChI=1/C6H5NO2/c8-6(9)5-2-1-3-7-4-5/h1-4H,(H,8,9) Key: PVNIIMVLHYAWGP-UHFFFAOYAA
|
|
คุณสมบัติ
|
|
C6H5NO2
|
มวลโมเลกุล
|
123.111 g·mol−1
|
ลักษณะทางกายภาพ
|
White, translucent crystals
|
ความหนาแน่น
|
1.473 g cm−3
|
จุดหลอมเหลว
|
237 องศาเซลเซียส; 458 องศาฟาเรนไฮต์; 510 เคลวิน
|
|
18 g L−1
|
log P
|
0.219
|
pKa
|
2.0, 4.85
|
จุดไอโซอิเล็กทริก
|
4.75
|
|
1.4936
|
|
0.1271305813 D[ต้องการอ้างอิง]
|
อุณหเคมี
|
|
−344.9 kJ mol−1
|
|
−2.73083 MJ mol−1
|
เภสัชวิทยา
|
|
C04AC01 (WHO) C10BA01 C10AD02 C10AD52
|
ข้อมูลใบอนุญาต
|
|
|
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, รับประทาน
|
เภสัชจลนศาสตร์:
|
|
20–45 นาที
|
ความอันตราย
|
GHS labelling:
|
|
|
|
เตือน
|
|
H319
|
|
P264, P280, P305+P351+P338, P337+P313, P501
|
NFPA 704 (fire diamond)
|
|
จุดวาบไฟ
|
193 องศาเซลเซียส (379 องศาฟาเรนไฮต์; 466 เคลวิน)
|
|
365 องศาเซลเซียส (689 องศาฟาเรนไฮต์; 638 เคลวิน)
|
|
Chemical compound
ไนอาซิน หรือ ไนอะซิน (อังกฤษ: niacin) หรือ กรดนิโคตินิก (อังกฤษ: nicotinic acid) หรือ วิตามินบี3 (อังกฤษ: vitamin B3) เป็นวิตามินชนิดที่ละลายในน้ำได้[3] ซึ่งจำเป็นใน Lipid Metabolism,Tissue respiration และ Glycogenolysis Nicotinic Acid ในปริมาณสูง ๆ จึงสามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดได้ โดยฤทธิ์ของยาจะทำให้ระดับ Triacylglycerol ใน Plasma และ VLDL ลดลงภายใน 1-4 วัน ส่วนฤทธิ์ในการลดระดับโคเลสเตอรอลและ LDL นั้น 5-7 วันจึงจะเห็นผล และนอกจากนั้น Nicotinic Acid ยังสามารถเพิ่ม HDL อีกด้วย จากการทดลองผลการลดระดับไขมันในเลือดจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดหลังรับประทานยา 5-7 สัปดาห์ ยาส่วนเกินที่รับประทานเข้าไปจะขับออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะ ซึ่งร่างกายมนุษย์มีความต้องการวิตามินชนิดนี้[4]
ผลกระทบที่ร่างกายได้รับ
ภาวะการได้รับไม่เพียงพอ
เมื่อร่างกายได้รับไนอาซีนไม่เพียงพอจะทำให้เกิดอาการอาหารไม่ย่อย คันตามผิวหนัง ปลายประสาทและลิ้นอักเสบ ภาวะซีด ปวดท้อง[4]เวียนศีรษะ คลื่นไส้ ซึมเศร้า โรคผิวหนัง ท้องร่วง อ่อนเพลีย[5]
ภาวะการได้รับเกินขนาด
เมื่อร่างกายได้รับไนอาซินมากกว่า 10-20 เท่าจะทำให้เกิดอาการท้องอืด ปวดท้อง หรือมีผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย[4]
แหล่งที่พบ
แหล่งที่พบไนอาซินได้แก่ ตับ แครอท เนื้อมะเขือเทศ เห็ด[5] เนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อวัว เครื่องในสัตว์ ใบตำลึง อาโวคาโด รำข้าว ลูกพรุน อินทผลัม[4]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
|
---|
ละลายในไขมัน | เอ | |
---|
ดี | ดี2 ( Ergosterol, Ergocalciferol) ดี3 ( 7-Dehydrocholesterol, Previtamin D3, Cholecalciferol, 25-hydroxycholecalciferol, Calcitriol (1,25-dihydroxycholecalciferol), Calcitroic acid) ดี4 ( Dihydroergocalciferol) · ดี5 · คล้ายดี ( Dihydrotachysterol, Calcipotriol, Tacalcitol, Paricalcitol) |
---|
อี | |
---|
เค | |
---|
|
---|
ละลายในน้ำ | บี | บี1 ( ไทอามีน) · บี2 ( ไรโบเฟลวิน) · บี3 ( ไนอาซิน, นิโคตินาไมด์) บี5 ( กรดแพนโทเทนิก, เดกซ์แพนทีนอล, แพนเททีน) · บี6 ( ไพริดอกซีน, ไพริดอกซาลฟอสเฟต, ไพริดอกซามีน) บี7 ( ไบโอติน) · บี9 ( กรดโฟลิก, กรดไดไฮโดรโฟลิก, กรดโฟลินิก) บี12 ( Cyanocobalamin, Hydroxocobalamin, Methylcobalamin, Cobamamide) · โคลีน |
---|
ซี | |
---|
|
---|
ผสม | |
---|
|