Share to:

 

PyTorch

PyTorch
ผู้ออกแบบAdam Paszke, Sam Gross, Soumith Chintala, Gregory Chanan
วันที่เปิดตัวตุลาคม 2016; 8 ปีที่แล้ว (2016-10)
รุ่นเสถียร
1.4.0 / 15 มกราคม 2020; 4 ปีก่อน (2020-01-15)
ที่เก็บข้อมูลgithub.com/pytorch/pytorch
ภาษาที่เขียนภาษาไพธอน, ภาษาซีพลัสพลัส, CUDA
ระบบปฏิบัติการลินุกซ์, แมคโอเอส, วินโดวส์
แพลตฟอร์มIA-32, x86-64
ภาษาอังกฤษ
ประเภทไลบรารีสำหรับการเรียนรู้ของเครื่องและการเรียนรู้เชิงลึก
สัญญาอนุญาตBSD
เว็บไซต์pytorch.org

PyTorch เป็นไลบรารีด้านการเรียนรู้ของเครื่องที่พัฒนาต่อยอดมาจากไลบรารี Torch[1][2][3] ถูกใช้งานในคอมพิวเตอร์วิทัศน์และการประมวลภาษาธรรมชาติ ผู้พัฒนาหลักคือหน่วยวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ของบริษัทเฟซบุ๊ก[4][5][6] PyTorch เป็นซอฟต์แวร์ฟรีและโอเพนซอร์ซที่เปิดให้ใช้งานโดยเสรีภายใต้ Modified BSD license ภาษาหลักคือภาษาไพธอน แต่ยังมีการพัฒนาส่วนเชื่อมต่อกับภาษาซีพลัสพลัสด้วย[7]

ปัจจุบัน ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาโดยใช้การเรียนรู้เชิงลึกหลายอันถูกพัฒนาขึ้นบนการทำงานของ PyTorch เช่น Pyro ของอูเบอร์[8]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Yegulalp, Serdar (19 January 2017). "Facebook brings GPU-powered machine learning to Python". InfoWorld. สืบค้นเมื่อ 11 December 2017.
  2. Lorica, Ben (3 August 2017). "Why AI and machine learning researchers are beginning to embrace PyTorch". O'Reilly Media. สืบค้นเมื่อ 11 December 2017.
  3. Ketkar, Nikhil (2017). "Introduction to PyTorch". Deep Learning with Python (ภาษาอังกฤษ). Apress, Berkeley, CA. pp. 195–208. doi:10.1007/978-1-4842-2766-4_12. ISBN 9781484227657.
  4. Patel, Mo (2017-12-07). "When two trends fuse: PyTorch and recommender systems". O'Reilly Media (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-12-18.
  5. Mannes, John. "Facebook and Microsoft collaborate to simplify conversions from PyTorch to Caffe2". TechCrunch (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-12-18. FAIR is accustomed to working with PyTorch – a deep learning framework optimized for achieving state of the art results in research, regardless of resource constraints. Unfortunately in the real world, most of us are limited by the computational capabilities of our smartphones and computers.
  6. Arakelyan, Sophia (2017-11-29). "Tech giants are using open source frameworks to dominate the AI community". VentureBeat (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-12-18.
  7. "The C++ Frontend". PyTorch Master Documentation. สืบค้นเมื่อ 2019-07-29.
  8. "Uber AI Labs Open Sources Pyro, a Deep Probabilistic Programming Language". Uber Engineering Blog (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2017-11-03. สืบค้นเมื่อ 2017-12-18.
Kembali kehalaman sebelumnya