กระบวนการของธารน้ำกระบวนการของธารน้ำ [1][2](ละติน: Fluvial process, fluvius แปลว่า แม่น้ำ) ในทางภูมิศาสตร์ และวิทยาศาสตร์กายภาพ หมายถึงกระบวนการที่แม่น้ำหรือธารน้ำทำให้เกิดธรณีสัณฐานรูปแบบต่าง ๆ กระบวนการแม่น้ำลำธารเป็นตัวการที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดลักษณะภูมิประเทศแบบต่าง ๆ เพราะน้ำมีอิทธิพลให้เกิดการเพิ่มและลดระดับของเปลือกโลก กระบวนการของทางน้ำ (fluvial process) มีอยู่ 3 ลักษณะได้แก่ การกร่อน (erosion) การพัดพา (transportation) และการทับถม (deposition) การกัดเซาะการกัดเซาะเป็นการแยกออกของวัตถุจากชั้นตะกอนหรือผิวด้านข้างของร่องน้ำ การไหลของกระแสน้ำสามารถกัดกร่อนได้ 2 แบบคือ[3]
การพัดพาจะมีธารน้ำเป็นการสำคัญที่ทำให้เกิดการพัดพา โดยจะพัดพาตะกอนไปได้มากแค่ไหนขึ้นอยู่กับความเร็วของกระแสน้ำ การพัดพามี 4 ประเภทคือ[4]
การทับถมเนื่องจากความเร็วของกระแสน้ำและตะกอนมีปริมาณลดลง ทำให้ความสามารถในการเคลื่อนที่ของตะกอนลดลง ตะกอนที่มีขนาดใหญ่จะตะสะสมเป็นลำดับแรก ส่วนตะกอนที่มีขนาดเล็กและเบายังคงเคลื่อนที่ต่อไปก่อนจะตกสะสมในลำดับต่อมา รูปแบบการไหล
อ้างอิง
|