กัมบะโอซากะ (ญี่ปุ่น: ガンバ大阪; โรมาจิ: Gamba Ōsaka) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเล่นอยู่ในเจลีก ดิวิชัน 1 โดยทีมกัมบะอยู่ที่เมืองซุยตะ จังหวัดโอซากะ ทีมกัมบะได้รับชัยชนะครั้งแรกในเจลีกในปี ค.ศ. 2005 นอกจากนี้ ยังสามารถคว้าแชมป์เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกได้สำเร็จเป็นครั้งแรก ค.ศ. 2008
คำว่า กัมบะ ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่า "พยายามทำให้ดีที่สุด" มาจากคำว่า กัมบาเระ แต่ชื่อจริงของทีมมาจากภาษาอิตาลี คำว่า กัมบา ที่แปลว่า "ขา"
อดีตมีนักฟุตบอลชาวไทยร่วมทำหน้าที่กับสโมสรแห่งนี้ด้วยคือ วิทยา เลาหกุล, นที ทองสุขแก้ว, รณชัย สยมชัย
ประวัติ
กัมบะโอซากะ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1980 ในชื่อ สโมสรฟุตบอลมัตสึชิตะ ในจังหวัดนาระ และเปลี่ยนชื่อมาเป็น กัมบะโอซากะ เมื่อย้ายมาอยู่ที่จังหวัดโอซากะ ในปี ค.ศ. 1991 และได้เข้าร่วมเจลีกในปี ค.ศ. 1992
ในปี ค.ศ. 2005 กัมบะโอซากะ สร้างประวัติศาสตร์ด้วยการเป็นแชมป์เจลีกครั้งแรก ต่อด้วยการสร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกมาครองได้เป็นครั้งแรก ในปี 2008 ด้วยการเอาชนะทีมอะเดเลด ยูไนเต็ด จากออสเตรเลียขาดลอย 5-0
ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2012 กัมบะโอซากะ ตกชั้นจากเจลีก ดิวิชัน 1มาสู่เจลีก ดิวิชัน 2 หลังจบด้วยอันดับ 17 ในลีกแม้จะยิงประตูมากกว่าทีมอื่นก็ตาม
สัญลักษณ์สโมสร
สนาม
กัมบะโอซากะ ใช้สนามกีฬาโอซากะเอ็กซ์โป '70 ซึ่งตั้งอยู่ที่สวนที่ระลึกงานเอ็กซ์โป เป็นสยามเหย้า เป็นสนามที่มีลู่วิ่ง ความจุผู้ชม 20,000 คน และสโมสรมีแผนจะสร้างสนามแห่งใหม่เป็นสนามฟุตบอลโดยเฉพาะ ภายในบริเวณสวนที่ระลึกงานเอ็กซ์โป
ผลงานในเจลีก
ฤดูกาล
|
ลีก
|
จำนวนทีม
|
อันดับ
|
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย
|
เจลีก คัพ
|
ถ้วยจักรพรรดิ
|
ฟุตบอลเอเชีย
|
1992
|
-
|
-
|
-
|
-
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
-
|
-
|
1993
|
J1
|
10
|
7
|
21,571
|
รอบรองชนะเลิศ
|
รอบ 2
|
-
|
-
|
1994
|
J1
|
12
|
10
|
22,367
|
รอบรองชนะเลิศ
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
1995
|
J1
|
14
|
14
|
13,310
|
-
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
1996
|
J1
|
16
|
12
|
8,004
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
1997
|
J1
|
17
|
4
|
8,443
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
1998
|
J1
|
18
|
15
|
8,723
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
รอบ 3
|
-
|
-
|
1999
|
J1
|
16
|
11
|
7,996
|
รอบ 2
|
รอบ 4
|
-
|
-
|
2000
|
J1
|
16
|
6
|
9,794
|
รอบ 2
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
2001
|
J1
|
16
|
7
|
11,723
|
รอบ 2
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
-
|
-
|
2002
|
J1
|
16
|
3
|
12,762
|
รอบรองชนะเลิศ
|
รอบ 4
|
-
|
-
|
2003
|
J1
|
16
|
10
|
10,222
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
รอบ 4
|
-
|
-
|
2004
|
J1
|
16
|
3
|
12,517
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
2005
|
J1
|
18
|
1
|
15,966
|
รองชนะเลิศ
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
2006
|
J1
|
18
|
3
|
16,259
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
รองชนะเลิศ
|
CL
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
2007
|
J1
|
18
|
3
|
17,439
|
ชนะเลิศ
|
รอบรองชนะเลิศ
|
-
|
-
|
2008
|
J1
|
18
|
8
|
16,128
|
รอบรองชนะเลิศ
|
ชนะเลิศ
|
CL
|
ชนะเลิศ
|
2009
|
J1
|
18
|
3
|
17,712
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
ชนะเลิศ
|
CL
|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
|
2010
|
J1
|
18
|
2
|
16,654
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
รอบรองชนะเลิศ
|
CL
|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
|
2011
|
J1
|
18
|
3
|
16,411
|
รอบรองชนะเลิศ
|
รอบ 3
|
CL
|
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
|
2012
|
J1
|
18
|
17
|
14,778
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
รองชนะเลิศ
|
CL
|
รอบแบ่งกลุ่ม
|
2013
|
J2
|
22
|
1
|
13,444
|
ไม่ได้ร่วมการแข่งขัน
|
รอบ 3
|
CL
|
ไม่ได้ร่วมการแข่งขัน
|
2014
|
J1
|
18
|
1
|
15,777
|
ชนะเลิศ
|
ชนะเลิศ
|
CL
|
ไม่ได้ร่วมการแข่งขัน
|
2015
|
J1
|
18
|
2
|
15,999
|
รองชนะเลิศ
|
ชนะเลิศ
|
รองชนะเลิศ
|
–
|
2016
|
J1
|
18
|
4
|
25,342
|
รองชนะเลิศ
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
Group Stage
|
–
|
2017
|
J1
|
18
|
10
|
24,277
|
รอบรองชนะเลิศ
|
รอบ 4
|
Group Stage
|
–
|
2018
|
J1
|
18
|
16
|
23,485
|
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
|
รอบ 2
|
–
|
–
|
2019
|
J1
|
18
|
7
|
27,708
|
รอบรองชนะเลิศ
|
รอบ 3
|
|
|
นักฟุตบอล
ทีมปัจจุบัน
ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2015
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
การจัดอันดับในเอเชีย
- ณ วันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 2015[1]
บุคคลที่มีผลงานโดดเด่น
รายชื่อผู้เล่นตามด้วยปีฤดูกาลฟุตบอล
ผู้เล่น
ผู้ฝึกสอน
เกียรติประวัติ
การแข่งขันในประเทศ
ในนามสโมสรฟุตบอลมัตสึชิตะ (ยุคทีมสมัครเล่น)
ในนามสโมสรฟุตบอลกัมบะโอซากะ (ยุคทีมฟุตบอลอาชีพ)
- เจลีก ดิวิชัน 1
- ชนะเลิศ (2) : 2005, 2014
- รองชนะเลิศ (1) : 2010
- ถ้วยจักรพรรดิ
- ชนะเลิศ (3) : 2008, 2009, 2014
- รองชนะเลิศ (1) : 2006
- เจลีกคัพ
- ชนะเลิศ (2) : 2007, 2014
- รองชนะเลิศ (1) : 2005
- ซีร็อกซ์ ซูเปอร์คัพ
- ชนะเลิศ (1) : 2007
- รองชนะเลิศ (2) : 2006, 2009, 2010
ฟุตบอลเอเชีย
ฟุตบอลระดับโลก
- ฟุตบอลชิงถ้วยธนาคารซูรูกะ
- รองชนะเลิศ (1) : 2008
ฟุตบอลระดับนานาชาติ รายการเล็ก
ผู้จัดการทีม
สโมสรพันธมิตร
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
แม่แบบ:ผู้เล่นกัมบะ โอซากะ
|
---|
แชมป์ 4 สมัย | | |
---|
แชมป์ 3 สมัย | |
---|
แชมป์ 2 สมัย |
- กว่างโจว (2013, 2015)
- ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ (2006, 2016)
- ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ (2001, 2002)
- อัลอิน (2003, 2024)
- อุลซันฮุนได (2012, 2020)
- เอสเทกลอล (1970, 1990)
- ซ็องนัม (1995, 2010)
- อัลอิตติฮาด (2004, 2005)
- อัสซัดด์ (1989, 2011)
- ธนาคารกสิกรไทย (1994, 1995)
- มัคคาบีเทลอาวีฟ (1969, 1971)
|
---|
แชมป์สมัยเดียว | |
---|
|
---|
แชมป์ 8 สมัย | |
---|
แชมป์ 5 สมัย | |
---|
แชมป์ 4 สมัย | |
---|
แชมป์ 3 สมัย | |
---|
แชมป์ 2 สมัย | |
---|
แชมป์สมัยเดียว | |
---|
|