Share to:

 

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน349,719
ผู้ใช้สิทธิ46.25%
  First party Second party
 
ผู้นำ สมัคร สุนทรเวช ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ประชากรไทย ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2529 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี และอำเภอปากเกร็ด (เฉพาะตำบลบางตลาด)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย ประกอบ สังข์โต (3) 34,294
ประชากรไทย สนม เปียร์นนท์ (4) 31,315
พลังธรรม ชิดพงษ์ ไชยวสุ (1) 24,703
พลังธรรม สถาพร อิ่มใจ (2) 23,894
ชาติไทย ร้อยเอก ชะโลม รัตนเสถียร (23)* 7,354
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พิฑูร มลิวัลย์ (5) 6,496
ชาติไทย สุรรัตน์ รัตนเสถียร (24) 5,353
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิบเอก ประยุทธ ส่งสมบูรณ์ (6) 4,597
ประชาธิปัตย์ ถนอม เปรมรัศมี (8) 2,894
ประชาธิปัตย์ อนุกิจ สิงหโชติสุขแพทย์ (7) 2,293
ประชาชน (พ.ศ. 2531) นุกูล นวลศรี (9) 2,077
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ฤทธิ์ดำรง นวชาตโฆษิต (10) 897
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมศักดิ์ ศรีรอด (15) 356
กิจสังคม ปิยะชาติ ดีอุบล (13) 310
กิจสังคม สุภาพร นรสิงห์ (14) 272
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชื้น สุวรรณหงษ์ (12) 214
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำนงค์ สุขสำราญ (11) 187
สหประชาธิปไตย เกษรา แก้วจินดา (22) 182
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วนิดา อรุณพันธ์ (16) 136
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประเสริฐ แอผัด (25) 76
สหประชาธิปไตย สุรพงษ์ พัวตะมะ (21) 61
มวลชน อำนวย ใสสุวรรณ (20) 56
มวลชน ชูชาติ ดียิ่ง (19) 43
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ทวี ทองยัง (17) 31
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) คูณ สีดากิจ (26) 31
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ขวัญ แครงกลาง (18) 27
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบางกรวย, อำเภอบางใหญ่, อำเภอไทรน้อย, อำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด (ยกเว้นตำบลบางตลาด)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ถวิล จันทร์ประสงค์ (23)✔ 37,412
ประชากรไทย ประชุม รัตนเพียร (5)* 30,926
ประชากรไทย ประยูร จอประยูร (6)* 24,586
ชาติไทย อุดมเดช รัตนเสถียร (24) 20,029
พลังธรรม พิทยา ไทยวุฒิวงศ์ (3) 10,182
พลังธรรม มัณฑนา ชวนประพันธ์ (4) 9,808
ประชาธิปัตย์ สัมฤทธิ์ ด้วงโสน (7) 8,439
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สนทยา เสือมาก (15) 2,568
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เอนก ทองปาน (16) 2,257
กิจประชาคม พิทูล หายักวงษ์ (13) 1,434
มวลชน อภิชิต เจนพิทักษ์สมบัติ (9) 1,184
ประชาธิปัตย์ สมบูรณ์ พูลคุณากูร (8) 1,047
กิจประชาคม วิเชียร มณฑาทิพย์ (14) 919
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิจิตรา ณ ร้อยเอ็ด (2) 702
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กอง จันทร์จริยา (1) 604
สหประชาธิปไตย ประพัฒน์ ทองคำสุก (22) 539
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ภักดี บุญมี (25) 512
มวลชน สมชาย เจนพิทักษ์สมบัติ (10) 453
กิจสังคม จุน ทองไทย (12) 262
กิจสังคม อารีย์ ถาวรประชา (11) 225
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชาลีรัตน์ กตัญญูชานนท์ (26) 224
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วสันต์ชัย เลิศวิบูลย์สุข (17) 129
สหประชาธิปไตย ปฎินันท์ นาควงศ์ (21) 125
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เกรียงฤทธิ์ ศักดิ์วีระกุล (19) 96
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ประพนธ์ โสวัณณะ (20) 75
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมาน รัตนศิลปิน (18) 69
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532
Kembali kehalaman sebelumnya