Share to:

 

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน855,089
ผู้ใช้สิทธิ64.39%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา ณรงค์ วงศ์วรรณ ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค กิจสังคม รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 4 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น4 Steady0

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
ผู้นำ เทียนชัย สิริสัมพันธ์ พิชัย รัตตกุล พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประชาธิปัตย์ สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2 3
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี และอำเภอดอยสะเก็ด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (8) 85,342
กิจสังคม สุบิน ปิ่นขยัน (7)* 83,313
ชาติไทย สุรพันธ์ ชินวัตร (11)* 79,503
รวมไทย (พ.ศ. 2529) กุมพล สภาวสุ (1) 78,316
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ณรงค์ นิยมไทย (13) 36,431
พลังธรรม ประพัฒน์ สิทธิสังข์ (19) 36,259
พลังธรรม เข้ม มฤคพิทักษ์ (20) 30,247
พลังธรรม สมบัติ ไตรศรีศิลป์ (21) 24,973
ประชาธิปัตย์ จำรูญ ไชยลังการณ์ (4)* 20,971
ประชาธิปัตย์ บัณฑิต เศรษฐเสถียร (5) 4,710
กิจสังคม พวงทอง ปวงจันทร์หอม (9) 4,611
ประชาธิปัตย์ กิตติศักดิ์ ชูรักษ์ (6) 3,773
ชาติไทย โชคชัย ภาวสุทธิการ (10) 3,344
ชาติไทย อดิศร สุวรรณประเทศ (12) 2,180
รวมไทย (พ.ศ. 2529) คเชนทร์ วงศ์สาม (2) 1,873
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เสาวภาคย์ แสนมโนรักษ์ (3) 1,823
กิจประชาคม นิวัตร ไชยชนะ (18) 1,448
สหประชาธิปไตย ผ่องศรี แสนปัน (22) 863
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ประเวทย์ ใจปัญมา (31) 843
กิจประชาคม ภิญญาลักษณ์ วงศ์ตระกูล (16) 818
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมพงษ์ กอแก้ว (14) 794
กิจประชาคม รังสรรค์ ปินชัย (17) 753
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พงษ์ประภาส ไชยวงศ์ศรี (15) 667
พลังสังคมประชาธิปไตย พินิจ สิทธิปัญญา (25) 502
สหประชาธิปไตย ภาวสุทธิ์ ทาคำ (23) 499
พลังสังคมประชาธิปไตย สมยศ นิติสุวรรณกุล (27) 372
เกษตรอุตสาหกรรมไทย จ่าสิบเอก เกรียงไกร มูลอ้าย (33) 309
มวลชน ไพโรจน์ นวลสุวรรณ (28) 304
มวลชน จีรศักดิ์ ศรีรอด (29) 243
มวลชน สัญชัย มั่นจันทร์ (30) 201
สหประชาธิปไตย กนกวรรณ จันทร์ตา (24) 194
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ทวีศักดิ์ กฤษณานนท์ (32) 193
พลังสังคมประชาธิปไตย เจริญ คำก้อน (26) 177
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย, กิ่งอำเภอเวียงแหง และกิ่งอำเภอไชยปราการ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เจริญ เชาวน์ประยูร (1)* 107,273
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (2)* 82,857
รวมไทย (พ.ศ. 2529) มานะ แพรสกุล (3)* 56,880
กิจสังคม จ่าสิบตำรวจ อุดม วรวัลย์ (4) 54,009
พลังธรรม ชุ่ม คำลือ (10) 48,504
กิจสังคม เฉลิม โชติกสวัสดิ์ (5) 41,545
พลังธรรม นงค์เยาว์ ศรีแสง (11) 38,541
พลังธรรม สุกัญญา สุรภักดี (12) 31,899
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ชัยกร ปรีชาหาญ (33) 29,191
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บรรยงค์ สุนนท์ชัย (7) 15,685
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ยุทธนา ปัญญาเจริญ (32) 8,041
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มนตรี หลิ่มประสงค์ชัย (31) 7,173
กิจประชาคม ดำรงค์ ปินทะนา (20) 4,715
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ศุภพชัย บุญใจเพ็ชร (13) 3,932
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นพดล จิ่งนะ (8) 3,030
กิจสังคม นิคม ปันตา (6) 2,642
กิจประชาคม แสงเดือน ชัยเลิศ (19) 2,371
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประสิทธิ์ พิพัฒนธรรม (9) 1,811
กิจประชาคม ณรงค์ อภิชัย (21) 1,636
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ดวงทิพย์ พวงแก้ว (30) 1,352
มวลชน สาคร คำอุ่น (23) 1,105
มวลชน ปรีชา ก้อนกล่อม (22) 1,084
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ภูวนารถ วิวัฒน์เจริญกิจ (14) 950
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ขจรศักดิ์ เวียงอินทร์ (15) 825
พลังสังคมประชาธิปไตย บุญฤทธิ์ เรืองเจริญ (25) 754
สหประชาธิปไตย ชาวิทย์ วงศ์สืบ (18) 692
สหประชาธิปไตย ชัยวัฒน์ ไชยมงคล (17) 522
สหประชาธิปไตย บรรยง นนทการ (16) 469
มวลชน อุทัย คชหาญ (24) 374
พลังสังคมประชาธิปไตย ว่าที่ร้อยตรี วินัย วินัยสถาพร (27) 228
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ดนัย จันทร์จริง (29) 214
พลังสังคมประชาธิปไตย อรุณ ช้างขวัญยืน (26) 186
เกษตรอุตสาหกรรมไทย บุญธรรม คาบเพ็ชร (28) 133
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย, และอำเภอดอยเต่า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม อำนวย ยศสุข (7)* 61,865
กิจสังคม วารินทร์ ลิ้มศักดากุล (9) 58,338
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สยม รามสูต (33)✔ 48,292
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วิมล ธิเวกานนท์ (32) 41,663
กิจสังคม บุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ (8) 41,551
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ส่งสุข ภัคเกษม (16)* 32,511
สหประชาธิปไตย ชาญชัย ไพรัชกุล (10)* 28,147
พลังธรรม สุเมธ พรหมรักษา (13) 19,461
พลังธรรม จำรัส ชนสร้างสรรค์ (14) 14,999
พลังธรรม ทัศบูรณ์ พรหมรักษา (15) 12,018
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วุ่น พรมสีคา (17) 9,176
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เกรียงศักดิ์ ภูมิรุ่งโรจน์ (30) 4,502
สหประชาธิปไตย สนั่น ยอเกียรติยศ (12) 4,034
กิจประชาคม เสน่ห์ พรหมมา (6) 3,155
พลังสังคมประชาธิปไตย นรินทร์ จึงประเสริฐ (23) 3,039
พลังสังคมประชาธิปไตย สิทธา คำผุย (22) 2,894
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เมืองชื่น อารียะ (31) 2,684
สหประชาธิปไตย ประสงค์ บุญมายัง (11) 2,427
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ณรงค์ ภูครึง (3) 2,211
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พีระชัย ศุภมิตร (1) 2,104
ประชาธิปัตย์ อดุลย์ สุภาวงศ์ (19) 2,023
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อุทัย ศักดิ์สีเหลือง (2) 1,986
ประชาธิปัตย์ อดุลย์ศักดิ์ ไชยแก้ว (20) 1,981
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพโรจน์ อาษากิจ (18) 1,646
กิจประชาคม มานพ กองเงิน (5) 1,347
กิจประชาคม ทวี หลุยจำวัน (4) 1,333
ประชาธิปัตย์ อินสม ฟองจันทร์ (21) 927
มวลชน มะลิ สังข์งิ้ว (27) 890
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สิบเอก บุญรัตน์ คำราพิศ (29) 843
พลังสังคมประชาธิปไตย อนุวัชร ศิริรัตน์ (24) 656
มวลชน พงษ์ศักดิ์ สังข์มูล (26) 645
เกษตรอุตสาหกรรมไทย วิโรจน์ จิตกาวิน (28) 625
มวลชน สุรชัย ทองเพ็ชร (25) 405
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532
Kembali kehalaman sebelumnya