ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 15 ปี 2018ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี 2018 |
---|
รายละเอียดการแข่งขัน |
---|
ประเทศเจ้าภาพ | อินโดนีเซีย |
---|
เมือง | เกรซิค และ ซิโดอาร์โจ |
---|
วันที่ | 29 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม พ.ศ. 2561 |
---|
ทีม | 11 |
---|
สถานที่ | 2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ) |
---|
สถิติการแข่งขัน |
---|
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 15 |
---|
จำนวนประตู | 72 (4.8 ประตูต่อนัด) |
---|
ผู้ทำประตูสูงสุด | Amiruddin Bagus Kahfi Al-Fikri (6 ประตู) |
---|
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561 |
การแข่งขัน ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 15 ปี 2018 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 13 ของ ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี (ครั้งที่สองของรุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี), ที่จัดขึ้นโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน สำหรับทีมชาติชายของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอายุไม่เกิน 15 ปี.
ทั้งหมด 11 ทีมที่จะลงเล่นในรายการนี้, กับผู้เล่นที่เกิดก่อนหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2002 จะได้มีสิทธิ์เข่าร่วม. แต่ละนัดจะมีระยะเวลาของการแข่งขันอยู่ที่ 80 นาที, ประกอบไปด้วยสองครึ่ง ครึ่งละ 40 นาที.
ทีมที่เข้าร่วม
ไม่มีการลงเล่นในรอบคัดเลือก, และผู้เข้าร่วมทั้งหมดจะได้ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย.
ด้านล่างนี้คือ 11 ทีมที่มาจากสมาคมสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนจะเข้าสู่การแข่งขัน.
ทีม
|
สมาคม/สหพันธ์
|
การลงสนาม
|
ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
|
ไทย
|
ไทย
|
ครั้งที่ 9
|
ชนะเลิศ (2007, 2011, 2015)
|
เวียดนาม
|
เวียดนาม
|
ครั้งที่ 11
|
ชนะเลิศ (2006, 2010), 2017)
|
กัมพูชา
|
กัมพูชา
|
ครั้งที่ 9
|
อันดับที่สี่ (2016)
|
บรูไน
|
บรูไน
|
ครั้งที่ 7
|
รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2007, 2013, 2015, 2016), 2017)
|
อินโดนีเซีย
|
อินโดนีเซีย
|
ครั้งที่ 9
|
รองชนะเลิศ (2013)
|
ลาว
|
ลาว
|
ครั้งที่ 9
|
รองชนะเลิศ (2002, 2007, 2011)
|
มาเลเซีย
|
มาเลเซีย
|
ครั้งที่ 10
|
ชนะเลิศ (2013)
|
พม่า
|
เมียนมาร์
|
ครั้งที่ 10
|
ชนะเลิศ (2002, 2005)
|
ฟิลิปปินส์
|
ฟิลิปปินส์
|
ครั้งที่ 7
|
รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2011, 2013, 2015, 2016, 2017)
|
สิงคโปร์
|
สิงคโปร์
|
ครั้งที่ 9
|
อันดับที่สี่ (2008, 2011)
|
ติมอร์-เลสเต
|
ติมอร์-เลสเต
|
ครั้งที่ 6
|
อันดับที่สาม (2010)
|
รอบแบ่งกลุ่ม
สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ.
กลุ่ม เอ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2561. แหล่งข้อมูล:
เอเอฟเอฟ(H) เจ้าภาพ
กลุ่ม บี
อันดับ
|
ทีม
|
เล่น
|
ชนะ
|
เสมอ
|
แพ้
|
ได้
|
เสีย
|
ต่าง
|
คะแนน
|
การผ่านเข้ารอบ
|
1
|
ไทย (Q)
|
3
|
3
|
0
|
0
|
12
|
2
|
+10
|
9
|
รอบแพ้คัดออก
|
2
|
ลาว
|
2
|
2
|
0
|
0
|
5
|
3
|
+2
|
6
|
3
|
มาเลเซีย
|
2
|
1
|
0
|
1
|
7
|
3
|
+4
|
3
|
|
4
|
สิงคโปร์
|
2
|
0
|
0
|
2
|
2
|
5
|
−3
|
0
|
5
|
บรูไน (E)
|
3
|
0
|
0
|
3
|
3
|
16
|
−13
|
0
|
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561. แหล่งข้อมูล:
เอเอฟเอฟ(E) ตกรอบ;
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
รอบแพ้คัดออก
ในรอบแพ้คัดออก, การดวลลูกโทษ เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น.[1]
สายการแข่งขัน
รอบรองชนะเลิศ
นัดชิงอันดับที่ 3
รอบชิงชนะเลิศ
อันดับดาวซัลโว
- 6 ประตู
- 5 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ประตู
- Ali Imran Sukari (ในนัดที่พบกับ ไทย)
- Muhammad Nuh Azlan Syah Mohd Yusof (ในนัดที่พบกับ ไทย)
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
การแข่งขัน | ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี | |
---|
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี | |
---|
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 15 ปี | |
---|
|
---|
ผู้เล่น | |
---|
|
---|
ทีมชาติ | | |
---|
สโมสร | |
---|
เยาวชน | |
---|
ชาติสมาชิก | |
---|