ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศประจำปีของสมาชิกใน สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (AFF) และชาติที่ถูกรับเชิญมาเป็นครั้งคราวก็มาจากส่วนที่เหลือของทวีปเอเชีย ทัวร์นาเมนต์ที่เล่นก่อนหน้านี้ที่อยู่ภายใต้อายุไม่เกิน 17 ปี[1]การแข่งขันจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 2002[2] และกลับมาแข่งขันต่อในปี 2005
ผลการแข่งขัน
ความสำเร็จในการแข่งขัน
ชาติ
|
ชนะเลิศ
|
รองชนะเลิศ
|
อันดับที่สาม
|
อันดับที่สี่
|
ไทย
|
3 (2007, 2011, 2015)
|
5 (2005, 2017, 2018, 2019, 2024)
|
2 (2016, 2022)
|
1 (2012)
|
เวียดนาม
|
3 (2006, 2010, 2017)
|
2 (2016, 2022)
|
1 (2007)
|
3 (2013, 2019, 2024)
|
ออสเตรเลีย
|
3 (2008, 2016, 2024)
|
1 (2012)
|
3 (2013, 2015, 2017)
|
—
|
พม่า
|
2 (2002, 2005)
|
2 (2006, 2015)
|
1 (2011)
|
—
|
อินโดนีเซีย
|
2 (2018, 2022)
|
1 (2013)
|
3 (2002, 2019, 2024)
|
2 (2007, 2010)
|
มาเลเซีย
|
2 (2013, 2019)
|
—
|
2 (2008, 2018)
|
3 (2002, 2005, 2017)
|
ญี่ปุ่น
|
1 (2012)
|
—
|
—
|
—
|
ลาว
|
—
|
3 (2002,2007, 2011)
|
2 (2005, 2012)
|
2 (2006, 2015)
|
จีน
|
—
|
1 (2010)
|
—
|
—
|
บาห์เรน
|
—
|
1 (2008)
|
—
|
—
|
บังกลาเทศ
|
—
|
—
|
1 (2006)
|
—
|
ติมอร์-เลสเต
|
—
|
—
|
1 (2010)
|
—
|
สิงคโปร์
|
—
|
—
|
—
|
2 (2008, 2011)
|
กัมพูชา
|
—
|
—
|
—
|
1 (2016)
|
ดูเพิ่ม
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
ทีมชาติ | | |
---|
สโมสร | |
---|
เยาวชน | |
---|
ชาติสมาชิก | |
---|
|
---|
การเมือง | |
---|
รัฐสมาชิก | |
---|
รัฐสังเกตการณ์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
การประชุม | |
---|
กีฬา | |
---|
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
---|
|