Share to:

 

ฟุตบอลโลก 2018 รอบชิงชนะเลิศ

ฟุตบอลโลก 2018
รอบชิงชนะเลิศ
นักฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศสชูถ้วยฟีฟ่าเวิลด์คัพ
รายการฟุตบอลโลก 2018
วันที่15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018)
สนามสนามกีฬาลุจนีกี, มอสโก
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
อ็องตวน กรีแยซมาน (ฝรั่งเศส)[1]
ผู้ตัดสินเนสโตร์ ปิตานา (อาร์เจนตินา)[2]
ผู้ชม0-2
สภาพอากาศมีเมฆเป็นบางส่วน
27 °C (81 °F)
51% ความชื้นสัมพัทธ์[3]
2014
2022

ฟุตบอลโลก 2018 รอบชิงชนะเลิศ กำหนดแข่งขันในวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 ที่สนามกีฬาลุจนีกี ในมอสโก ประเทศรัสเซีย เพื่อตัดสินหาทีมชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 21 ของ ฟุตบอลโลก[4]

ทีมชนะเลิศของฟุตบอลโลกจะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2021

สนามแข่งขัน

ภูมิหลัง

หลังจากที่ อุรุกวัย และ บราซิล ได้ตกรอบในรอบก่อนรองชนะเลิศ, ฝั่งจากทวีปยุโรปต่างมั่นใจได้ว่าจะเป็นแชมป์ฟุตบอลโลกเป็นครั้งที่ 4 ติดต่อกัน[5] การแข่งขันนัดนี้ยังเป็นครั้งที่เก้าของทีมจากทวีปยุโรปทั้งหมดในนัดชิงชนะเลิศฟุตบอลโลก, ซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ใน 2006 และ 2010[6][7]

การแข่งขันครั้งนี้เป็นฟุตบอลโลกครั้งที่สามสำหรับทีมชาติฝรั่งเศส, ปรากฏขึ้นครั้งแรกใน รอบชิงชนะเลิศ ค.ศ. 1998 ในฐานะชาติเจ้าภาพ, ชัยชนะ 3–0 เหนือแชมป์เก่า บราซิล ฝรั่งเศสได้เข้าชิงชนะเลิศอีกครั้งในปี ค.ศ. 2006 แต่พวกเขาพ่ายแพ้ต่อ อิตาลี ใน การดวลลูกโทษตัดสิน หลังจากเสมอในเวลา 90 นาทีที่ 1–1.[8][9] มีเพียงเยอรมนี (แปดครั้ง) และ อิตาลี (หกครั้ง) เท่านั้นที่มาถึงรอบชิงชนะเลิศได้มากที่สุดจากหลายประเทศของทวีปยุโรป[10] ดีดีเย เดช็อง กลายเป็นคนที่สี่ที่จะเข้ามาถึงรอบชิงชนะเลิศฟุตบอลโลกในสองฐานะทั้งผู้เล่นและผู้จัดการทีม, หลังจากที่ ฟรันซ์ เบคเคนเบาเออร์, รูดี โฟลเลอร์ และ มาริโอ ซากัลโล[11]

นัดนี้เป็นครั้งแรกของฟุตบอลโลก รอบชิงชนะเลิศ สำหรับทีมชาติโครเอเชียในการลงสนามฟุตบอลโลกเป็นครั้งที่ห้า พวกเขาคือประเทศยุโรปชาติที่ 10 และโดยรวมเป็นชาติที่ 13 ที่ทะลุเข้ารอบชิงชนะเลิศฟุตบอลโลก และเป็นผู้เข้าชิงชนะเลิศทีมแรกนับตั้งแต่ สเปน ในปี ค.ศ. 2010[12][13]

นัดชิงชนะเลิศครั้งนี้เป็นการพบกันครั้งที่หกระหว่าง ฝรั่งเศส และ โครเอเชีย, กับชัยชนะของทีมชาติฝรั่งเศสในโปรแกรมการแข่งขันครั้งที่ผ่านมากับสถิติชนะสามครั้งและเสมอสองครั้ง[14] ครั้งแรกที่สองทีมเคยโคจรมาพบกันเกิดขึ้นใน ฟุตบอลโลก 1998 รอบรองชนะเลิศ, กับชัยชนะของชาติเจ้าภาพ ฝรั่งเศส ด้วยสกอร์ 2–1[15] นับเป็นหนเดียวของพวกเขาในการพบกันอ่ยางเป็นทางหารทั้งหมดเกิดขึ้นใน รอบแบ่งกลุ่มของยูโร 2004 ผลจบลงที่การเสมอกันไป 2–2 พวกเขาถัดจากนั้น และหนล่าสุด เป็นการพบกันในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 กับเกมนัดกระชับมิตร, ซึ่งจบลงด้วยการเสมอกัน 0–0[16]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ

ฝรั่งเศส รอบ โครเอเชีย
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผล
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2–1 นัดที่ 1 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 2–0
ธงชาติเปรู เปรู 1–0 นัดที่ 2 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3–0
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 0–0 นัดที่ 3 ธงชาติไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 2–1
ชนะเลิศ กลุ่ม ซี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 7
2 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 5
3 ธงชาติเปรู เปรู 3 3
4 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
ตารางคะแนน ชนะเลิศ กลุ่ม ดี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย 3 9
2 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 4
3 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 3
4 ธงชาติไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 3 1
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
คู่แข่งขัน ผล รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน ผล
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 4–3 รอบ 16 ทีมสุดท้าย ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 1–1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) (3–2 ลูกโทษ)
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 2–0 รอบก่อนรองชนะเลิศ ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 2–2 (หลังต่อเวลาพิเศษ) (4–3 ลูกโทษ)
ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 1–0 รอบรองชนะเลิศ ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 2–1 (หลังต่อเวลาพิเศษ)

ก่อนเกมการแข่งขัน

การแข่งขัน

รายละเอียด

ฝรั่งเศส[18]
โครเอเชีย[18]
GK 1 อูว์โก โยริส (กัปตัน)
RB 2 แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์
CB 4 ราฟาแอล วาราน
CB 5 ซามุแอล อูมตีตี
LB 21 ลูกัส แอร์น็องแดซ โดนใบเหลือง ใน 41st นาที 41'
CM 6 ปอล ปอกบา
CM 13 อึงโกโล ก็องเต โดนใบเหลือง ใน 27th นาที 27' Substituted off in the 55th นาที 55'
RW 10 กีลียาน อึมบาเป
AM 7 อ็องตวน กรีแยซมาน
LW 14 แบลซ มาตุยดี Substituted off in the 73rd นาที 73'
CF 9 ออลีวีเย ฌีรู Substituted off in the 81st นาที 81'
การเปลี่ยนตัวผู้เล่น:
MF 15 สตีแวน อึนซงซี Substituted on in the 55th minute 55'
MF 12 กอร็องแต็ง ตอลีโซ Substituted on in the 73rd minute 73'
FW 18 นาบีล เฟกีร์ Substituted on in the 81st minute 81'
ผู้จัดการทีม:
ดีดีเย เดช็อง
GK 23 ดานิเยล ซูบาชิช
RB 2 ซีเม เวอร์ซาลย์คอ โดนใบเหลือง ใน 90+2nd นาที 90+2'
CB 6 เดยัน ลอฟเรน
CB 21 ดอมาก็อย วีดา
LB 3 อิวัน สตรินิช Substituted off in the 82nd นาที 82'
CM 7 อิวัน ราคิทิช
CM 11 มาร์ตเซลอ บรอซอวิช
RW 18 อันเท เรบิช Substituted off in the 71st นาที 71'
AM 10 ลูคา มอดริช (กัปตัน)
LW 4 อิวัน เพริชิช
CF 17 มารีออ มันจูคิช
การเปลี่ยนตัวผู้เล่น:
FW 9 อันเดรย์ ครามาริช Substituted on in the 71st minute 71'
MF 20 มาร์คอ พิยัตซา Substituted on in the 82nd minute 82'
ผู้จัดการทีม:
ซลัตคอ ดาลิช

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
อ็องตวน กรีแยซมาน (ฝรั่งเศส)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[18]
เอร์นัน ไมดานา (อาร์เจนตินา)
ฆวน ปาโบล เบลัตติ (อาร์เจนตินา)
ผู้ตัดสินที่สี่:
บีเยิร์น เกยเปิร์ส (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
แอร์วิน แซอินสตรา (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
มัสซิมิเลียโน อิร์ราติ (อิตาลี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
เมาโร บิเกลียโน (อาร์เจนตินา)
การ์โลส อัสโตรซา (ชิลี)
ดันนี มัคเคอไล (เนเธอร์แลนด์)

ข้อมูลการแข่งขัน[19]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • ตัวสำรองของแต่ละทีมมีรายชื่อ 12 คน
  • แต่อาจใช้เปลี่ยนได้จริงแค่ 3 คน, คนที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ

สถิติ

โดยรวม[20] ฝรั่งเศส โครเอเชีย
ประตู 4 2
การยิงรวม 7 11
เข้ากรอบ 6 3
การครอบครองบอล 39% 61%
การเตะมุม 2 6
การทำฟาวล์ 14 13
การล้ำหน้า 1 1
การเซฟประตู 1 4
ใบเหลือง 2 1
ใบแดง 0 0

หลังเกมการแข่งขัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "France v Croatia – Man of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-18. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  2. "Nestor Pitana to referee World Cup Final". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 July 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2018. สืบค้นเมื่อ 12 July 2018.
  3. "Start list – Final – France v Croatia" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 July 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2021. สืบค้นเมื่อ 15 July 2018.
  4. "FIFA World Cup Russia 2018 – Match Schedule" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-10. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  5. Dunbar, Graham (6 July 2018). "Europe assured of extending World Cup winning streak to 4". The Washington Post. Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-11. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "Magic moments in all-European Finals". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  7. Stokkermans, Karel (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2561). "World Cup 1930–2018". RSSSF.com. Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  8. Douglas, Steve (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561). "Vive la France: Les Bleus advance to World Cup final". The Washington Post. Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-11. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  9. Reineking, Jim (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561). "Every FIFA World Cup champion: Brazil, Germany, Italy historically dominate tournament". USA Today. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  10. Hafez, Shamoon (10 July 2018). "France 1 Belgium 0". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 10 July 2018.
  11. Sen, Debayan (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561). "By the numbers – Can Deschamps join Zagallo and Beckenbauer?". ESPN. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  12. "Stats of the day – 12 July 2018" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. p. 1. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  13. Phillips, Mitch (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2561). "Mandzukic sends irrepressible Croatia into first World Cup final". Reuters. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  14. West, Jenna (11 July 2018). "France vs. Croatia History: All-Time Head-to-Head Results". Sports Illustrated. สืบค้นเมื่อ 11 July 2018.
  15. "The last time France and Croatia met on the world stage". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  16. "Statistical Kit for the FIFA World Cup" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. p. 13. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  17. "Match report – Final – France v Croatia" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. 18.0 18.1 18.2 "Tactical Line-up – Final – France v Croatia" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 August 2021. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  19. "Regulations – 2018 FIFA World Cup Russia" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  20. "France v Croatia – Statistics". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 July 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-18. สืบค้นเมื่อ 15 July 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya