Share to:

 

ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์

ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์

Koninkrijk der Nederlanden (ดัตช์)
ที่ตั้งของเนเธอร์แลนด์
แผนที่สี่ประเทศที่เป็นส่วนประกอบตามขนาด
แผนที่สี่ประเทศที่เป็นส่วนประกอบตามขนาด
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
อัมสเตอร์ดัม[a]
52°22′N 4°53′E / 52.367°N 4.883°E / 52.367; 4.883
ที่ตั้งรัฐบาลเดอะเฮก[a]
ภาษาราชการภาษาดัตช์[b]
ภาษาราชการประจำภูมิภาค[b]
ภาษาที่ได้รับการยอมรับ[b]
เดมะนิมชาวดัตช์
ประเทศ (ส่วนที่ไม่เป็นอธิปไตย)
การปกครองรัฐเดี่ยว ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภาที่คลายอำนาจ
วิลเลิม-อเล็กซานเดอร์
Dick Schoof
Guillfred Besaril
Anthony Begina
Rene Violenus
เอกราช 
26 กรกฎาคม 1581 (ประกาศ)
30 มกราคม 1648 (ยอมรับ)
19 มกราคม 1795
5 มิถุนายน 1806
1 กรกฎาคม 1810
16 มีนาคม 1815
• การแยกตัวของเบลเยียม
4 ตุลาคม 1830 (ประกาศ)
19 เมษายน 1839 (ได้รับการยอมรับ)
15 ธันวาคม 1954
พื้นที่
• รวม
42,531[8] ตารางกิโลเมตร (16,421 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131)
18.96
ประชากร
• 2019 ประมาณ
เพิ่มขึ้น 17,737,438[9] (อันดับที่ 64)
515 ต่อตารางกิโลเมตร (1,333.8 ต่อตารางไมล์)
สกุลเงิน
เขตเวลาUTC-4 (เวลายุโรปกลาง (UTC+1)
เวลามาตรฐานแอตแลติก)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC-4 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2)
เวลามาตรฐานแอตแลติก)
รูปแบบวันที่วว-ดด-ปปปป
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์
4 codes
  • +31      (เนเธอร์แลนด์)
  • +297    (อารูบา)
  • +599    (กือราเซา / แคริบเบียน)
  • +1 721 (ซินต์มาร์เติน)
รหัส ISO 3166NL
โดเมนบนสุด
5 TLDs
  • .nl  (เนเธอร์แลนด์)[c]
  • .aw  (อารูบา)
  • .cw  (กือราเซา)
  • .sx  (ซินต์มาร์เติน)
  • .bq  (แคริบเบียนเนเธอร์แลนด์)[d]

ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (ดัตช์: Koninkrijk der Nederlanden; ออกเสียง: [ˈkoːnɪŋkrɛiɡ dɛr ˈneːdərlɑndə(n)] ( ฟังเสียง)[e]; อังกฤษ: The Kingdom of the Netherlands) เป็นรัฐเอกราชซึ่งมีดินแดนในยุโรปตะวันตกและแคริบเบียน ราชอาณาจักรสี่ส่วน อารูบา กือราเซา เนเธอร์แลนด์ และ ซินต์มาร์เติน ถูกเรียกว่า "ประเทศ" และมีส่วนร่วมบนรากฐานความเสมอภาคเป็นประเทศร่วม (partner) ในราชอาณาจักร ทว่าในทางปฏิบัติ เนเธอร์แลนด์ (ซึ่งมีพื้นที่และประชากรเป็นราว 98% ของราชอาณาจักร) บริหารจัดการกิจการแห่งราชอาณาจักรส่วนใหญ่ ในนามของทั้งราชอาณาจักร โดยอารูบา กือราเซา และ ซินต์มาร์เตินพึ่งพิงเนเธอร์แลนด์

ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ส่วนใหญ่ของเนเธอร์แลนด์ (และราชอาณาจักร) ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป ยกเว้นเทศบาลพิเศษสามแห่ง (โบแนเรอ ซินต์เอิสตาซียึสและซาบา) ที่ตั้งอยู่ในแคริบเบียน ประเทศองค์ประกอบอารูบา กือราเซาและซินต์มาเตินตั้งอยู่ในแคริบเบียนเช่นกัน

ซูรินามถือเป็นประเทศหนึ่งในราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2497 จนถึง พ.ศ. 2518 ขณะที่เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสเป็นประเทศหนึ่งของราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2497 จนถึง พ.ศ. 2553 ซูรินามกลายสภาพไปเป็นสาธารณรัฐเอกราช และเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสถูกยุบไปเป็นประเทศอารูบา (นับตั้งแต่ พ.ศ. 2529) กือราเซาและซินต์มาร์เติน (นับตั้งแต่ พ.ศ. 2553) และเทศบาลเมืองของเนเธอร์แลนด์ โบแนเรอ ซาบา ซินต์เอิสตาซียึส เนเธอร์แลนด์นิวกินี ถือว่าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรจนถึง พ.ศ. 2505 แต่มิใช่เขตปกครองตนเอง และมิได้ถูกกล่าวถึงในกฎบัตร

การปกครอง

ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ในปัจจุบันประกอบด้วย 4 ประเทศ ได้แก่

ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
ประเทศ ประชากร[9]
(ณ พฤศจิกายน ค.ศ. 2019)
ร้อยละของประชากร
ทั้งราชอาณาจักร
พื้นที่[8][10] ร้อยละของพื้นที่
ทั้งราชอาณาจักร
ความหนาแน่นของประชากร
  เขตการปกครอง
 เนเธอร์แลนด์[f] 17,424,978 98.24% 41,873 ตารางกิโลเมตร (16,167 ตารางไมล์) 98.45% 516 ต่อตารางกิโลเมตร (1,340 ต่อตารางไมล์)
เนเธอร์แลนด์ แผ่นดินใหญ่ยุโรป 17,399,821 98.10% 41,545 ตารางกิโลเมตร (16,041 ตารางไมล์) 97.68% 521 ต่อตารางกิโลเมตร (1,350 ต่อตารางไมล์)
 โบแนเรอ†‡ 20,104 0.11% 288 ตารางกิโลเมตร (111 ตารางไมล์) 0.69% 69 ต่อตารางกิโลเมตร (180 ต่อตารางไมล์)
 ซินต์เอิสตาซียึส†‡ 3,138 0.02% 21 ตารางกิโลเมตร (8.1 ตารางไมล์) 0.05% 150 ต่อตารางกิโลเมตร (390 ต่อตารางไมล์)
 ซาบา†‡ 1,915 0.01% 13 ตารางกิโลเมตร (5.0 ตารางไมล์) 0.03% 148 ต่อตารางกิโลเมตร (380 ต่อตารางไมล์)
 อารูบา 112,309 0.63% 180 ตารางกิโลเมตร (69 ตารางไมล์) 0.42% 624 ต่อตารางกิโลเมตร (1,620 ต่อตารางไมล์)
 กูราเซา 158,665 0.89% 444 ตารางกิโลเมตร (171 ตารางไมล์) 1.04% 358 ต่อตารางกิโลเมตร (930 ต่อตารางไมล์)
 ซินต์มาร์เติน 41,486 0.23% 34 ตารางกิโลเมตร (13 ตารางไมล์) 0.08% 1,221 ต่อตารางกิโลเมตร (3,160 ต่อตารางไมล์)
 เนเธอร์แลนด์ 17,737,438 100.00% 42,525 ตารางกิโลเมตร (16,419 ตารางไมล์) 100.00% 515 ต่อตารางกิโลเมตร (1,330 ต่อตารางไมล์)
เป็นส่วนหนึ่งของดัตช์แคริบเบียน
เป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนเนเธอร์แลนด์

กองทัพ

กีฬา

ฟุตบอล

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. 1.0 1.1 อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองหลวงตามรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรและเนเธอร์แลนด์ ส่วนเดอะเฮกเป็นที่ตั้งของรัฐบาลที่เป็นตัวแทนทั้งสองแบบ; โอรันเยสตัดเป็นเมืองหลวงของอารูบา; วิลเลมสตัดเป็นเมืองหลวงของกือราเซา และฟีลิปส์บืร์คเป็นเมืองหลวงของซินต์มาร์เติน
  2. 2.0 2.1 2.2 ภาษาดัตช์เป็นภาษาราชการในสี่ประเทศที่เป็นส่วนประกอบ ภาษาอังกฤษเป็นาษาราชการในกือราเซา[1]และซินต์มาร์เติน[2] และมีสถานะทางการที่ซาบาและซินต์เอิสตาซียึส[3] ปาเปียเมนตูเป็นภาษาราชการในอารูบา[4]และกือราเซา[1] และมีสถานะทางการที่โบแนเรอ[3] ภาษาฟรีเซียตะวันตกมีสถานะภาษาราชการในฟรีสลันด์[5] Dutch Low Saxon, ภาษามือดัตช์, ลิมเบิร์ก, Sinte Romani และยิดดิชเป็นภาษาที่ได้รับการยอมรับในเนเธอร์แลนด์[6][7]
  3. ใช้ .eu ร่วมกับรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป
  4. มีการทำรหัส .bq แต่ไม่ใช้งาน
  5. Koninkrijk ในรูปเดี่ยวออกเสียงเป็น [ˈkoːnɪŋkrɛik]
  6. The population statistics of the Central Bureau of Statistics for the Netherlands do not include the Caribbean Netherlands (Source 1, 2). The number given here results from adding the population statistics of the Netherlands with those of the Caribbean Netherlands.

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "LANDSVERORDENING van de 28ste maart 2007 houdende vaststelling van de officiële talen (Landsverordening officiële talen)" (ภาษาดัตช์). Government of the Netherlands. 2010-10-10. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2019. สืบค้นเมื่อ 30 July 2013.
  2. According to Art. 1 para 2. Constitution of Sint Maarten เก็บถาวร 25 มีนาคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: "The official languages are Dutch and English"
  3. 3.0 3.1 "Invoeringswet openbare lichamen Bonaire, Sint Eustatius en Saba" (ภาษาดัตช์). wetten.nl. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2017. สืบค้นเมื่อ 27 December 2017.
  4. Migge, Bettina; Léglise, Isabelle; Bartens, Angela (2010). Creoles in Education: An Appraisal of Current Programs and Projects. Amsterdam: John Benjamins Publishing Company. p. 268. ISBN 978-90-272-5258-6. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2021. สืบค้นเมื่อ 26 October 2020.
  5. "Wet gebruik Friese taal" (ภาษาดัตช์). wetten.nl. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 December 2017. สืบค้นเมื่อ 27 December 2017.
  6. "Welke erkende talen heeft Nederland?" (ภาษาดัตช์). Rijksoverheid. 2016-01-11. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 December 2017. สืบค้นเมื่อ 29 December 2018.
  7. "Besluit van 24 juni 2021 tot vaststelling van het tijdstip van inwerkingtreding van de Wet erkenning Nederlandse Gebarentaal" (PDF). Staatsblad van Het Koninkrijk der Nederlanden. 2021. ISSN 0920-2064. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2021. สืบค้นเมื่อ 1 July 2021.
  8. 8.0 8.1 "Oppervlakte". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2020. สืบค้นเมื่อ 10 January 2020.
  9. 9.0 9.1 "CBS Statline". opendata.cbs.nl. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2019. สืบค้นเมื่อ 3 December 2018.
  10. Ministerie van Algemene Zaken (19 May 2015). "Waaruit bestaat het Koninkrijk der Nederlanden? - Rijksoverheid.nl". onderwerpen. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya