สงครามกลางเมืองเลบานอน |
---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามเย็นอาหรับ, ความขัดแย้งระหว่างอาหรับกับอิสราเอล และสงครามตัวแทนระหว่างอิหร่านกับอิสราเอล | จัตุรัสมรณสักขีกลางเมืองเบรุตในปี 1982 ระหว่างสงครามกลางเมือง | วันที่ | 13 มิถุนายน 1975 – 13 ตุลาคม 1990 (15 ปี 6 เดือน) (Last battle ended on 6 July 1991, Syrian occupation ended on 30 April 2005) |
---|
สถานที่ | |
---|
ผล |
|
---|
| คู่สงคราม |
---|
เลบานีสฟรอนต์ กองทัพฟรีเลบานอน (until 1977) SLA (from 1976) อิสราเอล (from 1978)
Tigers Militia (until 1980) |
ขบวนการเลบานีสเนชันนอล (1975–1982) จัมมูล (1982–1990)
PLO (1975–82)
ASALA
เฮซบอลลาห์ (1985–1990)
อิหร่าน (ตั้งแต่ 1980, หลัก ๆ โดย IRGC)
ขบวนการสามัคคีอิสลาม (from 1982) |
Syria (1976, 1983–1991) ขบวนการอะมาล PNSF ขบวนการมาราดา (ออกจาก LF ในปี 1978; เพื่อเข้าร่วมกับซีเรีย) |
กองทัพเลบานอน
UNIFIL (from 1978) กองกำลังนานาชาติ (1982–1984)
กองกำลังดีเทอร์เรนต์อาหรับ (1976–1982)[1]
| ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ |
---|
Bachir Gemayel † Amine Gemayel William Hawi † Elie Hobeika Samir Geagea Etienne Saqr Georges Adwan Saad Haddad # Antoine Lahad Menachem Begin Ariel Sharon
Dany Chamoun † |
Kamal Jumblatt † Walid Jumblatt Inaam Raad Abdallah Saadeh Assem Qanso George Hawi Elias Atallah Muhsin Ibrahim Ibrahim Kulaylat Ali Eid Yasser Arafat George Habash Hagop Hagopian Monte Melkonian
Subhi al-Tufayli Abbas al-Musawi
Said Shaaban |
Hafez al-Assad Mustafa Tlass Nabih Berri Tony Frangieh † |
Michel Aoun
Emmanuel Erskine William O'Callaghan Gustav Hägglund Timothy J. Geraghty | กำลัง |
---|
|
25,000 กอง (1976)[1] |
1,200 กอง[1] 1,000 กอง[1] 1,000 กอง[1] 700 troops[1] 700 กอง[1] |
120,000–150,000 เสียชีวิต[2] |
สงครามกลางเมืองเลบานอน (อาหรับ: الحرب الأهلية اللبنانية, อักษรโรมัน: Al-Ḥarb al-Ahliyyah al-Libnāniyyah) เป็นสงครามกลางเมืองที่มีการปะทะของหลายฝ่ายที่เกิดขึ้นในประเทศเลบานอน ตั้งแต่ปี 1975 ถึงปี 1990 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 120,000 ราย[3] ข้อมูลจากปี 2012 ระบุว่ามีประชาชนราว 76,000 คนในเลบานอนที่ยังคงไม่สามารถกลับสู่ถิ่นฐานเดิมได้[4] นอกจากนี้ยังมีการอพยพของชาวเลบานอนออกจากประเทศราวหนึ่งล้านคนอันเป็นผลจากสงคราม[5]
ก่อนสงคราม ประเทศเลบานอนเป็นประเทศนิกายนิยมทางการเมือง (sectarian) โดยมีมุสลิมซุนนีและคริสต์ชนนิกายตะวันออกเป็นหลักในเมืองชายฝั่ง, มุสลิมชีอะห์ในทางใต้และในแถบเทือกเขาเบกาห์ทางตะวันออก และมีประชากรบนเขาส่วนใหญ่เป็นชาวดรูซกับคริสต์ชน รัฐบาลเลบานอนได้อยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างหนักจากชนชั้นสูงซึ่งเป็นคริสต์ชนเมรอไนต์[6][7] ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและการเมืองได้ถูกนำมาใช้โดยเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสตั้งแต่ปี 1920 ถึง 1943 และโครงสร้างในรัฐสภาที่มีคริสต์ชนอยู่ในตำแหน่งนำ อย่างไรก็ตาม ประเทศเลบานอนมีประชากรมุสลิมและแพน-อาหรับอยู่จำนวนมากโดยมี กลุ่มฝ่ายซ้ายที่ต่อต้านรัฐบาลที่เอียงเอนไปทางตะวันตก การก่อตั้งประเทศอิสราเอลและการขับไล่ผู้ลี้ภัยปาเลสไตน์มายังเลบานอนในระหว่างเหตุการณ์เมื่อปี 1948 และ 1967 ได้นำไปสู่การเปลี่ยนสมดุลประชากรโดยมีอัตราส่วนของชาวมุสลิมเพิ่มขึ้นมาก สงครามเย็นมีผลให้เกิดความแตกแยกอย่างมากในเลบานอนที่ซึ่งใกล้ชิดกับการแบ่งขั้วก่อนที่จะเกิดวิกฤตการเมืองเลบานอน ปี 1958 เนื่องจากชาวเมรอไนต์ (Maronites) เลือกเข้าข้างตะวันตก ในขณะที่ฝ่ายซ้ายและกลุ่มแพนอาหรับเข้าข้างประเทศอาหรับที่เข้าข้างโซเวียต[8]
การต่อสู้ระหว่างกองกำลังเมรอไนต์และปาเลสไตน์เริ่มต้นขึ้นในปี 1975 ที่ซึ่งฝ่ายซ้าย กลุ่มแพนอาหรับ และชาวมุสลิมเลบานอนได้รวมกลุ่มเข้ากับชาวปาเลสไตน์[9] ระหว่างการต่อสู้ที่ดำเนินไปนั้น มีการเปลี่ยนฝั่งพันธมิตรอย่างรวดเร็วและอย่างทำนายไม่ได้ นอกจากนี้ยังมีอำนาจจากนอกประเทศเช่นอิสราเอลและซีเรียที่เข้าร่วมในสงครามและต่อสู้ร่วมกับส่วนต่าง ๆ ของขั้วอำนาจที่ต่างกัน และยังมีกองกำลังเพื่อสันติภาพเช่นกองกำลังนานาชาติ และ กองกำลังของสหประชาชาติที่ตั้งทัพอยู่ในเลบานอน
ในปี 1989 ได้มีการลงนามในข้อตกลงทาอิฟที่ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของจุดจบของการต่อสู้ ในเดือนมกราคม 1989 คณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยอาหรับลีกได้เริ่มที่จะหาทางออกต่อกรณีพิพาทต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในเดือนมีนาคม 1991 รัฐสภาได้ผ่านร่างกฎหมายแอมเนสตีที่เป็นการแสดงการขอโทษต่ออาญชากรรมต่าง ๆ ที่รัฐได้ก่อขึ้นมาก่อนหน้า[10] ในเดือนพฤษภาคม 1991 กองกำลังต่าง ๆ ได้สลายตัวลงยกเว้นแต่เพียงที่เฮซบุลเลาะห์ ในขณะที่กองกำลังแห่งชาติเลบานอนค่อย ๆ เกิดขึ้นใหม่ในฐานะองค์กรอนิกายนิยม (non-sectarian) ที่สำคัญแห่งเดียวของเลบานอน[11] แต่ก็ยังมีความขัดแย้งระหว่างผู้ที่นับถือนิกายซุนนีและชีอะห์ภายหลังสงครามกลางเมืองอยู่ [12]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 Mays, Terry M. Historical Dictionary of Multinational Peacekeeping. Lanham, MD: Scarecrow Press, 1996, pp. 9–10
- ↑ World Political Almanac, 3rd Ed, Chris Cook.
- ↑ UN Human Rights Council. 23 November 2006. "IMPLEMENTATION OF GENERAL ASSEMBLY RESOLUTION 60/251 OF 15 MARCH 2006 ENTITLED HUMAN RIGHTS COUNCIL." p.18.
- ↑ "Lebanon: Refugees and internally displaced persons เก็บถาวร 2019-09-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน." CIA World Factbook. 10 September 2012.
- ↑ Byman, Daniel, and Kenneth Michael Pollack. "Things Fall Apart: Containing the Spillover from an Iraqi Civil War." p. 139
- ↑ Inhorn, Marcia C., and Soraya Tremayne. 2012. Islam and Assisted Reproductive Technologies. p. 238.
- ↑ "BBC NEWS – Middle East – Who are the Maronites?". bbc.co.uk. 6 August 2007.
- ↑ "Beware of Small States: Lebanon, Battleground of the Middle East." p. 62
- ↑ Halliday, 2005: 117
- ↑ "Ex-militia fighters in post-war Lebanon" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 23 September 2015. สืบค้นเมื่อ 23 September 2013.
- ↑ "Lebanon's History: Civil War". ghazi.de.
- ↑ Rolland, John C. 2003. Lebanon: Current Issues and Background. p. 144. ISBN 9781590338711.
อ่านเพิ่ม
- Jean-Marc Aractingi, La Politique à mes trousses (Politics at my heels), Editions l'Harmattan, Paris, 2006, Lebanon Chapter (ISBN 978-2-296-00469-6).
- Al-Baath wa-Lubnân [Arabic only] ("The Baath and Lebanon"), NY Firzli, Beirut, Dar-al-Tali'a Books, 1973.
- The Iraq-Iran Conflict, NY Firzli, Paris, EMA, 1981. ISBN 2-86584-002-6
- Bregman, Ahron (2002). Israel's Wars: A History Since 1947. London: Routledge. ISBN 0-415-28716-2
- Bregman, Ahron and El-Tahri, Jihan (1998). The Fifty Years War: Israel and the Arabs. London: BBC Books. Penguin Books. ISBN 0-14-026827-8
- The Breakdown of the State in Lebanon, 1967–1976. Khazen, Farid El (2000) (ISBN 0-674-08105-6)
- The Bullet Collection, a book by Patricia Sarrafian Ward, is an excellent account of human experience during the Lebanese Civil War.
- Civil War in Lebanon, 1975–92. O'Ballance, Edgar (1998) (ISBN 0-312-21593-2)
- Crossroads to Civil War: Lebanon 1958–1976. Salibi, Kamal S. (1976) (ISBN 0-88206-010-4)
- Death of a country: The civil war in Lebanon. Bulloch, John (1977) (ISBN 0-297-77288-0)
- Faces of Lebanon: Sects, Wars, and Global Extensions (Princeton Series on the Middle East) Harris, William W (1997) (ISBN 1-55876-115-2)
- The Fateful Triangle: The United States, Israel, and the Palestinians. Noam Chomsky (1983, 1999) (ISBN 0-89608-601-1)
- History of Syria Including Lebanon and Palestine, Vol. 2. Hitti Philip K. (2002) (ISBN 1-931956-61-8)
- Lebanon: A Shattered Country: Myths and Realities of the Wars in Lebanon, Revised Edition Picard, Elizabeth (2002) (ISBN 0-8419-1415-X)
- Lebanon in Crisis: Participants and Issues (Contemporary Issues in the Middle East). Haley P. Edward, Snider Lewis W. (1979) (ISBN 0-8156-2210-4)
- Lebanon: Fire and Embers: A History of the Lebanese Civil War by Hiro, Dilip (1993) (ISBN 0-312-09724-7)
- Pity the Nation: Lebanon at War. Fisk, Robert (2001) (ISBN 0-19-280130-9)
- Syria and the Lebanese Crisis. Dawisha, A. I. (1980) (ISBN 0-312-78203-9)
- Syria's Terrorist War on Lebanon and the Peace Process. Deeb, Marius (2003) (ISBN 1-4039-6248-0)
- The War for Lebanon, 1970–1985. Rabinovich, Itamar (1985) (ISBN 0-8014-9313-7)
- The Lebanese War 1975–1985, a bibliographical survey, Abdallah Naaman, Maison Naaman pour la culture, Jounieh, Lebanon, 1985
- Palestine and the Arab-Israeli Conflict, fourth edition, Charles D. Smith (2001) (ISBN 0-312-20828-6) (paperback)
- Les otages libanais dans les prisons syriennes, jusqu'à quand? by Lina Murr Nehme
แหล่งข้อมูลอื่น
- แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ
แม่แบบ:Middle East conflict
|