อำเภอเมืองสุรินทร์ |
---|
|
การถอดเสียงอักษรโรมัน |
---|
• อักษรโรมัน | Amphoe Mueang Surin |
---|
ศาลหลักเมืองสุรินทร์ |
คำขวัญ: อำเภอเมืองสุรินทร์ ถิ่นจักสาน อุทยานพนมสวาย รวมใจหลักเมือง ลือเลื่องผ้าไหม หย่อนใจห้วยเสนง ครื้นเครงกันตรึมดี ไหว้พระชีว์หลวงปู่ดุลย์ |
แผนที่จังหวัดสุรินทร์ เน้นอำเภอเมืองสุรินทร์ |
พิกัด: 14°52′54″N 103°30′05″E / 14.88167°N 103.50139°E / 14.88167; 103.50139 |
ประเทศ | ไทย |
---|
จังหวัด | สุรินทร์ |
---|
พื้นที่ |
---|
• ทั้งหมด | 1,066.26 ตร.กม. (411.69 ตร.ไมล์) |
---|
ประชากร (2564) |
---|
• ทั้งหมด | 257,605 คน |
---|
• ความหนาแน่น | 241.60 คน/ตร.กม. (625.7 คน/ตร.ไมล์) |
---|
รหัสไปรษณีย์ | 32000 |
---|
รหัสภูมิศาสตร์ | 3201 |
---|
ที่ตั้งที่ว่าการ | ที่ว่าการอำเภอเมืองสุรินทร์ ถนนกรุงศรีนอก ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 32000 |
---|
|
เมืองสุรินทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ โดยเป็นศูนย์กลางทางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมของจังหวัด และเป็น 1 ใน 3 อำเภอของจังหวัดที่มีทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือผ่าน
ที่ตั้งและอาณาเขต
อำเภอเมืองสุรินทร์มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
ประวัติ
ท้องที่อาณาเขตเดิมของอำเภอเมืองสุรินทร์ เดิมมีชื่อว่า อำเภอเมือง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนมาเป็นชื่ออำเภอเมืองสุรินทร์ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยได้กำหนดพื้นที่ศูนย์กลางของจังหวัดให้ใช้ชื่อจังหวัดต่อท้ายชื่ออำเภอเมือง[1] ในอดีตอำเภอเมืองสุรินทร์มีพื้นที่กว้างขวางเกือบครึ่งหนึ่งของพื้นที่จังหวัด ปัจจุบันครอบคลุมพื้นที่ 5 อำเภอในปัจจุบัน คือ อำเภอเมืองสุรินทร์ อำเภอเขวาสินรินทร์ อำเภอปราสาทรวมไปถึงเขตอำเภอพนมดงรัก และอำเภอกาบเชิง (แยกออกจากอำเภอปราสาท) ซึ่งได้แบ่งแยกเขตการปกครองออกเรื่อยมา
- วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2479 จัดตั้งชุมนุมชนในเขตตำบลที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ ขึ้นเป็น เทศบาลเมืองสุรินทร์[2]
- วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2480 เปลี่ยนแปลงเขตตำบลและอำเภอในจังหวัดสุรินทร์ (1,2,3,4,5,6,7)[3]
- (1) โอนพื้นที่บ้านกะทม (ในขณะนั้น) ของตำบลทมอ ไปขึ้นกับตำบลเฉนียง อำเภอเมืองสุรินทร์
- (2) โอนพื้นที่บ้านอำปึล และบ้านอังกัญ (ในขณะนั้น) ของตำบลทมอ ไปขึ้นกับตำบลเทนมีย์ อำเภอเมืองสุรินทร์
- (3) โอนพื้นที่บ้านโคกทม และบ้านกระดาด (ในขณะนั้น) ของตำบลเทนมีย์ ไปขึ้นกับตำบลทมอ อำเภอเมืองสุรินทร์
- (4) โอนพื้นที่บ้านตาอี (ในขณะนั้น) ของตำบลสวาย ไปขึ้นกับตำบลทุ่งมน อำเภอเมืองสุรินทร์
- (5) โอนพื้นที่บ้านพนม (ในขณะนั้น) ของตำบลนาบัว ไปขึ้นกับตำบลไพล อำเภอเมืองสุรินทร์
- (6) โอนพื้นที่บ้านบักจรัง บ้านกาบเชิง และบ้านตาเกาว์ ของตำบลด่าน อำเภอสังขะ ไปขึ้นกับตำบลตาเบา อำเภอเมืองสุรินทร์
- (7) โอนพื้นที่บ้านกันตรวจระมวล บ้านไทร และบ้านกระวัน (ในขณะนั้น) ของตำบลกระเทียม อำเภอสังขะ ไปขึ้นกับตำบลตาเบา อำเภอเมืองสุรินทร์
- วันที่ 14 มีนาคม 2480 แยกพื้นที่ตำบลกังแอน ตำบลบักได ตำบลตาเบา ตำบลปรือ ตำบลทุ่งมน ตำบลไพล และตำบลทมอ อำเภอเมืองสุรินทร์ ไปจัดตั้งเป็น อำเภอปราสาท[4]
- วันที่ 3 เมษายน 2482 โอนพื้นที่หมู่ 8,12 (ในขณะนั้น) ของตำบลสำโรง กับพื้นที่หมู่ 5 (ในขณะนั้น) ของตำบลเมืองที อำเภอเมืองสุรินทร์ ไปขึ้นกับตำบลจารพัต อำเภอศีขรภูมิ และโอนพื้นที่ตำบลบึง (ยกเว้นพื้นที่หมู่16) ตำบลตากูก และตำบลเพี้ยราม (ยกเว้นพื้นที่หมู่ 14-20) อำเภอท่าตูม มาขึ้นกับ อำเภอเมืองสุรินทร์[5]
- วันที่ 10 มิถุนายน 2490 ตั้งตำบลในเขตท้องที่อำเภอเมืองสุรินทร์ (1,2,3,4,5)[6]
- (1) ตั้งตำบลแกใหญ่ แยกออกจากตำบลนอกเมือง ตำบลเขวาสินรินทร์ และตำบลท่าสว่าง
- (2) ตั้งตำบลสลักใด แยกออกจากตำบลนอกเมือง และตำบลสำโรง
- (3) ตั้งตำบลนาดี แยกออกจากตำบลเขวาสินรินทร์ ตำบลเพี้ยราม และตำบลท่าสว่าง
- (4) ตั้งตำบลสวาย แยกออกจากตำบลคอโค
- (5) ตั้งตำบลนาบัว แยกออกจากตำบลเฉนียง
- วันที่ 2 ธันวาคม 2490 โอนพื้นที่หมู่ 19 บ้านท่าเรือ (ในขณะนั้น) กับพื้นที่หมู่ 20 บ้านราม (ในขณะนั้น) ของตำบลจารพัต อำเภอศีขรภูมิ มาขึ้นกับตำบลสำโรง อำเภอเมืองสุรินทร์[7]
- วันที่ 8 ธันวาคม 2507 จัดตั้งสุขาภิบาลเมืองที ในท้องที่บางส่วนของตำบลเมืองที[8]
- วันที่ 2 กันยายน 2512 ตั้งตำบลตาอ็อง แยกออกจากตำบลเทนมีย์[9]
- วันที่ 22 กันยายน 2513 ตั้งตำบลตั้งใจ แยกออกจากตำบลบึง[10]
- วันที่ 28 ธันวาคม 2513 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์[11] โดยขยายให้ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งตำบล และพื้นที่หมู่ 7,8,11 และบางส่วนของหมู่ที่ 3,10 ตำบลนอกเมือง
- วันที่ 29 มิถุนายน 2514 เปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่อำเภอเมืองสุรินทร์ (1,2,3)[12]
- (1) โอนพื้นที่หมู่ 7,8,11 (ในขณะนั้น) ของตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ เฉพาะส่วนที่ถูกตัดเข้าไปอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ไปขึ้นกับตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ โดยให้มีเขตตรงตามหลักเขตของเทศบาลเมืองสุรินทร์
- (2) โอนพื้นที่หมู่ 3,10 (ในขณะนั้น) ของตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ เฉพาะส่วนที่ถูกตัดเข้าไปอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ไปขึ้นกับตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ โดยให้มีเขตตรงตามหลักเขตของเทศบาลเมืองสุรินทร์
- (3) โอนพื้นที่หมู่ 3,10 (ในขณะนั้น) ของตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ เฉพาะส่วนที่เหลือจากการถูกตัดเข้าไปอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ไปขึ้นรวมกับพื้นที่หมู่ 8 ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์
- วันที่ 14 พฤศจิกายน 2521 ตั้งตำบลราม แยกออกจากตำบลสำโรง[13]
- วันที่ 28 กรกฎาคม 2524 ตั้งตำบลบุฤๅษี แยกออกจากตำบลเมืองที[14]
- วันที่ 16 มีนาคม 2526 โอนพื้นที่หมู่ 15 บ้านอังกัน (ในขณะนั้น) ของตำบลหนองเหล็ก อำเภอศีขรภูมิ มาขึ้นกับตำบลสำโรง อำเภอเมืองสุรินทร์[15]
- วันที่ 23 ตุลาคม 2527 ตั้งตำบลตระแสง แยกออกจากตำบลคอโค[16]
- วันที่ 15 กันยายน 2532 ตั้งตำบลบ้านแร่ แยกออกจากตำบลเขวาสินรินทร์[17]
- วันที่ 17 สิงหาคม 2533 ตั้งตำบลปราสาททอง แยกออกจากตำบลตากูก[18]
- วันที่ 1 กรกฎาคม 2534 ตั้งตำบลแสลงพันธ์ แยกออกจากตำบลแกใหญ่[19]
- วันที่ 9 พฤศจิกายน 2538 ตั้งตำบลกาเกาะ แยกออกจากตำบลเพี้ยราม[20]
- วันที่ 26 มิถุนายน 2539 แยกพื้นที่ตำบลเขวาสินรินทร์ ตำบลบึง ตำบลตากูก ตำบลปราสาททอง และตำบลบ้านแร่ อำเภอเมืองสุรินทร์ มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ และให้ขึ้นการปกครองกับอำเภอเมืองสุรินทร์[21]
- วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลเมืองที เป็นเทศบาลตำบลเมืองที[22] ด้วยผลของกฎหมาย
- วันที่ 8 กันยายน 2550 ยกฐานะกิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ อำเภอเมืองสุรินทร์ ขึ้นเป็น อำเภอเขวาสินรินทร์[23]
การแบ่งเขตการปกครอง
การปกครองส่วนภูมิภาค
อำเภอเมืองสุรินทร์แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 21 ตำบล 289 หมู่บ้าน
1. |
|
ในเมือง |
|
(Nai Mueang) |
|
32 ชุมชน |
|
|
|
|
12. |
|
สวาย |
|
(Sawai) |
|
14 หมู่บ้าน |
|
2. |
|
ตั้งใจ |
|
(Tang Chai) |
|
9 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
13. |
|
เฉนียง |
|
(Chaniang) |
|
20 หมู่บ้าน |
|
3. |
|
เพี้ยราม |
|
(Phia Ram) |
|
15 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
14. |
|
เทนมีย์ |
|
(Thenmi) |
|
14 หมู่บ้าน |
|
4. |
|
นาดี |
|
(Na Di) |
|
17 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
15. |
|
นาบัว |
|
(Na Bua) |
|
19 หมู่บ้าน |
|
5. |
|
ท่าสว่าง |
|
(Tha Sawang) |
|
21 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
16. |
|
เมืองที |
|
(Mueang Thi) |
|
14 หมู่บ้าน |
|
6. |
|
สลักได |
|
(Salakdai) |
|
16 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
17. |
|
ราม |
|
(Ram) |
|
13 หมู่บ้าน |
|
7. |
|
ตาอ็อง |
|
(Ta Ong) |
|
16 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
18. |
|
บุฤๅษี |
|
(Bu Ruesi) |
|
10 หมู่บ้าน |
|
8. |
|
สำโรง |
|
(Samrong) |
|
15 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
19. |
|
ตระแสง |
|
(Trasaeng) |
|
12 หมู่บ้าน |
|
9. |
|
แกใหญ่ |
|
(Kae Yai) |
|
13 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
20. |
|
แสลงพันธ์ |
|
(Salaeng Phan) |
|
9 หมู่บ้าน |
|
10. |
|
นอกเมือง |
|
(Nok Mueang) |
|
22 หมู่บ้าน |
|
|
|
|
21. |
|
กาเกาะ |
|
(Ka Ko) |
|
12 หมู่บ้าน |
|
11. |
|
คอโค |
|
(Kho Kho) |
|
11 หมู่บ้าน |
|
|
|
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ท้องที่อำเภอเมืองสุรินทร์ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 22 แห่ง ได้แก่
- เทศบาลเมืองสุรินทร์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งตำบล
- เทศบาลตำบลเมืองที ครอบคลุมพื้นที่หมู่ 1, 7 ตำบลเมืองที (สุขาภิบาลเมืองทีเดิม)[8][22]
- องค์การบริหารส่วนตำบลสวาย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสวายทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลเพี้ยราม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเพี้ยรามทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาดีทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสว่าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าสว่างทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลสลักได ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสลักไดทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลตาอ็อง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตาอ็องทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสำโรงทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลแกใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแกใหญ่ทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลนอกเมือง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนอกเมืองทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลคอโค ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคอโคทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลตั้งใจ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตั้งใจทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลเฉนียง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเฉนียงทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลเทนมีย์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเทนมีย์ทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลนาบัว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาบัวทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองที ครอบคลุมพื้นที่หมู่ 2–6, 8–14 ตำบลเมืองที (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลเมืองที)
- องค์การบริหารส่วนตำบลราม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลรามทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลบุฤๅษี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบุฤๅษีทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลตระแสง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตระแสงทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลแสลงพันธ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแสลงพันธ์ทั้งตำบล
- องค์การบริหารส่วนตำบลกาเกาะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกาเกาะทั้งตำบล
สถานที่สำคัญ
โครงสร้างพื้นฐาน
การศึกษา
- โรงเรียนมัธยมสังกัด สพฐ.
- โรงเรียนเอกชน
|
- โรงเรียนสาธิต
- โรงเรียนประถมสังกัด สพฐ.
- โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา
- สถานศึกษาอื่น ๆ
- โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสุรินทร์ มีทั้งหมด 3 แห่ง
- ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองสุรินทร์
|
สาธารณสุข
- โรงพยาบาลสุรินทร์
- โรงพยาบาลรวมแพทย์
- โรงพยาบาลสุรินทร์รวมแพทย์
- โรงพยาบาลค่ายวีรวัฒน์โยธิน
การขนส่ง
- ทางรถไฟ
-
- สถานีรถไฟลำชี เป็นย่านสถานีรถไฟขนาดใหญ่และเคยมีวงเวียนกลับรถจักร ปัจจุบันยังคงเป็นต้นทางของขบวนรถท้องถิ่นลำชี–สำโรงทาบ และลำชี–อุบลราชธานี รวมถึงเป็นจุดพักรถโดยสารค้างคืนของขบวนรถธรรมดากรุงเทพ–สุรินทร์
- สถานีรถไฟสุรินทร์ เป็นสถานีรถไฟประจำจังหวัด ปัจจุบันมีขบวนรถไฟโดยสารจอดทุกขบวน
- สถานีรถไฟบุฤๅษี เคยมีทางแยกไปยังโรงงานเลื่อยไม้[24] ปัจจุบันยกเลิกการใช้งานและรื้อทางออกแล้ว
- สถานีรถไฟเมืองที เป็นสถานีรถไฟที่อยู่ใกล้กับปราสาทเมืองทีมากที่สุด
- ท่าอากาศยาน
อ้างอิง
|
---|
อำเภอ | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
กีฬา | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
สาธารณสุข | |
---|
การเมือง | |
---|
|
---|
|