Share to:

 

จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน438,249
ผู้ใช้สิทธิ48.05%
  First party Second party Third party
 
Tianchai Sirisampan.jpg
Samak Sundaravej.JPG
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ สมัคร สุนทรเวช ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประชากรไทย ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล
พรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอพระประแดง, อำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลบางเมือง ตำบลแพรกษา ตำบลท้ายบ้าน และตำบลปากน้ำ) และกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วัฒนา อัศวเหม (7)* 55,735
ประชากรไทย สนิท กุลเจริญ (16)* 49,670
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมชาย สาดิษฐ์ (8) 44,692
ประชากรไทย สมพร พิบูลย์นุรักษ์ (17) 36,001
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บุญเลิศ สิทธิพันธุ์ (9) 33,839
ประชากรไทย จำนงค์ เนตรนภา (18) 28,250
พลังธรรม ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง (25) 19,647
พลังธรรม เดชา ศรีไพบูลย์ (27) 15,623
พลังธรรม ราชินทร์ จันทร์สิงหกุล (26) 13,798
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมนึก อมรเดโช (10) 8,121
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประกิต สุขเกษม (11) 7,364
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประสพ ชุมศรี (12) 7,165
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ไพวัลย์ บุญมีศรีประเสริฐ (6) 2,976
ประชาชน (พ.ศ. 2531) เล็ก ช้างเผือก (4) 2,518
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ปรีชา รุ่งจำรัส (15) 2,069
กิจสังคม เรืออากาศโท เสนาะ แก้วจรัส (1) 1,457
กิจประชาคม พลเพชร เวียงดอนก่อ (19) 1,267
ประชาชน (พ.ศ. 2531) กฤษณะ กฤษณานนท์ (5) 1,219
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชวลิต มหาสุคนธ์ (14) 1,108
กิจสังคม อุบล ศรีพิทักษ์ (3) 1,046
สหประชาธิปไตย เรณู ทองคำสุก (28) 1,037
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สิงห์หาญ โกมารทัต (13) 1,021
กิจสังคม ฉลองศรี แจ่มนภา (2) 1,003
มวลชน เกรียงไกร อ่ำประยูร (24) 931
เกษตรอุตสาหกรรมไทย อุดมพันธ์ วิริยกุล (36) 510
มวลชน อรวรรณ หอพรรณุกฤษฎ์ (23) 456
สหประชาธิปไตย ชัย ธนูธรรมรัตน์ (29) 413
เกษตรอุตสาหกรรมไทย คนึง บุญเชิด (35) 350
กิจประชาคม ประเสริฐ ตรงแก้ว (21) 327
กิจประชาคม อาทร สมโรจน์รัตน์ (20) 309
มวลชน อภิสิทธิ์ สังฆนาคิน (22) 300
เกษตรอุตสาหกรรมไทย นฤมล ไชยทา (34) 218
พลังสังคมประชาธิปไตย สุนทร แก้วเนตร (31) 184
พลังสังคมประชาธิปไตย พันธ์ บุญพัฒน์ (32) 172
สหประชาธิปไตย ณพล พลินสุต (30) 151
พลังสังคมประชาธิปไตย สุภาพ วงค์จอม (33) 120
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ และตำบลสำโรงเหนือ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมพร อัศวเหม (9) 29,199
ชาติไทย ประเสริฐ สุขวัฒน์ (3)✔ 25,393
ชาติไทย ว่าที่ร้อยตรี ณัฐ ศรีเฟื่องฟุ้ง (4)* 24,129
ประชากรไทย สมรรค ศิริจันทร์ (13)* 19,914
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อนันต์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา (10) 17,332
ประชากรไทย อุไร พุ่มโพธิ์ (14) 15,694
พลังธรรม สมศักดิ์ สุขเกษม (7) 9,661
พลังธรรม ชาญชัย ทะสะโส (8) 8,607
ประชาธิปัตย์ ธรชัย ศักดิ์มังกร (1) 3,817
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อี มะเด็น (17) 2,993
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุใบด๊ะ รัตนศิลป์ (18) 1,914
ประชาธิปัตย์ พินิจ แน่นอุดร (2) 1,833
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เอกชัย ชัยมงคลวิวัฒน์ (12) 775
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จิระพงษ์ วนิชพันธุ์ (11) 744
กิจสังคม ธงชัย ชุ่มเชื้อ (5) 737
กิจสังคม มานะ พึ่งบารมี (6) 577
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วิบูลย ยืนยง (15) 322
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ธัชชัย ประสพวงศ์ (16) 273
มวลชน สุวิชัย โชติกานันทกุล (19) 254
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ถนอม รัตนศรี (23) 175
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สุมล วงค์เสน (24) 169
มวลชน พิชัย จโนภาส (20) 134
พลังสังคมประชาธิปไตย กฤษณะ อินธะรงค์ (21) 77
พลังสังคมประชาธิปไตย ประสาน ศรีโชค (22) 60
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532
Kembali kehalaman sebelumnya