Share to:

 

กองทัพอาณาจักรพม่า

กองทัพอาณาจักรพม่า
မြန်မာ့ဘုရင့်တပ်မတော်
Tatmadaw
ธงพม่า สมัยราชวงศ์อลองพญา (พ.ศ. 2295–2428)
ประจำการ849–1885
ประเทศ อาณาจักรพม่า
รูปแบบทหารบก, ทหารเรือ
บทบาทกองทัพ
กำลังรบ70,000 นาย
ปฏิบัติการสำคัญการรุกรานจากมองโกล
สงครามสี่สิบปี
สงครามหงสาวดี-ตองอู
สงครามพม่า–สยาม
สสงครามโก้นบอง–หงสาวดี
สงครามจีน-พม่า
สงครามพม่า-อังกฤษ
ผู้บังคับบัญชา
ผบ. สำคัญพระเจ้าจานสิตา, มังรายกะยอชวา, พระเจ้าบุเรงนอง, พระเจ้าอลองพญา, มังมหานรธา, อะแซหวุ่นกี้, มหาพันธุละ

กองทัพอาณาจักรพม่า (พม่า: တပ်မတော် [taʔmədɔ̀]) เป็นกองกำลังทหารพม่าราชาธิปไตย ตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 ถึง ศตวรรษที่ 19. ในสมัยอาณาจักรพุกาม, อาณาจักรอังวะ, อาณาจักรตองอู และ อาณาจักรคองบอง ตามลำดับ เป็นกองกำลังทหารที่สำคัญในอุษาคเณย์ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 กองทัพอาณาจักรพม่าพ่ายแพ้ต่อจักรวรรดิอังกฤษ ที่มีอาวุธยุทธภัณฑ์ที่ทันสมัย

กำลังพลในแต่ละหน่วย มีกำลังจำนวนหนึ่งพันนาย มีหน้าที่ในการรักษาพระนคร และ ดูแลพระราชวังหลวง โดยใช้ระบบไพร่ แต่ในยามศึกนั้น ใช้การเกณฑ์ทหารจากชายฉกรรจ์ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากระบบ ahmudan กำลังทัพประกอบด้วย ทหารคชานึก, ทหารม้า, ทหารปืนใหญ่ และ ทหารเรือ[1]

ขณะเดียวกันกองทัพต้องทำสงครามกับดินแดนเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะช่วงที่ชาติยุโรปครอบครองดินแดนต่างๆ เช่น โปรตุเกส และ ฝรั่งเศส ในศตวรรษที่ 17 ถึง ศตวรรษที่ 19 แต่มิอาจหยุดยั้งการทัพของกองทัพบริเตนของอังกฤษ ช่วงศตวรรษที่ 19 หลังสงครามพม่า-อังกฤษ กองทัพอาณาจักรพม่าถูกยุบเลิกพร้อมกับการยกเลิกระบบกษัตริย์ในพม่า เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1886

กองทัพพม่ามีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ทัตมาดอว์ ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกกองทัพแห่งสหภาพพม่าในปัจจบัน

อ้างอิง

  1. Lieberman 2003: 154–156

บรรณานุกรม

  • Burney, Col. Henry (August 1840). Four Years' War between Burmah and China. The Chinese Repository. Vol. 9. Canton: Printed for Proprietors.
  • Charney, Michael W. (1994). Southeast Asian Warfare 1300–1900. Leiden: Brill. ISBN 9789004142404.
  • Dijk, Wil O. (2006). Seventeenth-century Burma and the Dutch East India Company, 1634–1680 (illustrated ed.). Singapore: NUS Press. ISBN 9789971693046.
  • Fraser-Lu, Sylvia (2001). Splendour in wood: the Buddhist monasteries of Burma. Weatherhill. ISBN 9780834804937.
  • Hack, Karl; Tobias Rettig (2006). Colonial armies in Southeast Asia (illustrated ed.). Psychology Press. ISBN 9780415334136.
  • Hall, D.G.E. (1960). Burma (3rd ed.). Hutchinson University Library. ISBN 978-1-4067-3503-1.
  • Hardiman, John Percy (1901). Sir James George Scott (บ.ก.). Gazetteer of Upper Burma and the Shan States, Part 2. Vol. 3. Yangon: Government printing, Burma.
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
  • Johnston, William M. (2000). Encyclopedia of monasticism. Vol. 1. Taylor & Francis. ISBN 9781579580902.
  • Lieberman, Victor B. (2003). Strange Parallels: Southeast Asia in Global Context, c. 800–1830, volume 1, Integration on the Mainland. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-80496-7.
  • Myint-U, Thant (2006). The River of Lost Footsteps—Histories of Burma. Farrar, Straus and Giroux. ISBN 978-0-374-16342-6.
  • Phayre, Lt. Gen. Sir Arthur P. (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta.
  • Seekins, Donald M. (2006). Historical dictionary of Burma (Myanmar), vol. 59 of Asian/Oceanian historical dictionaries. Vol. 59 (Illustrated ed.). Sacredcrow Press. ISBN 978-0-8108-5476-5.
  • Steinberg, David I. (2009). Burma/Myanmar: what everyone needs to know. Oxford University Press. ISBN 9780195390681.
  • Tarling, Nicholas (2000). The Cambridge History of South-East Asia, Volume 1, Part 2 from c. 1500 to 1800 (reprint ed.). Cambridge University Press. ISBN 9780521663700.
Kembali kehalaman sebelumnya