การท่องเที่ยวในประเทศอินเดีย
การท่องเที่ยวในประเทศอินเดีย เป็นส่วนสำคัญในเศรษฐกิจของประเทศอินเดียที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว สภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลกคำนวณว่าธุรกิจการท่องเที่ยวสร้างรายได้ให้กับอินเดีย ₹16.91 แลกห์โคร (7.2 ล้านล้านบาท) หรือ 9.2% ของจีดีพีประเทศในปี 2018 และทำให้เกิดอาชีพกับผู้คน 42.673 ล้านคน, 8.1% ของการจ้างงานทั้งหมด[1] มีการคาดการณ์ว่าจะเติบโตขึ้นสูงถึง 6.9% หรือ ₹32.05 แลกห์โคร (14 ล้านล้านบาท) ภายในปี 2028 (9.9% ของจีดีพี)[2] ในเดือนตุลาคม 2015 การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ในประเทศอินเดียมีมูลค่าประมาณการอยู่ที่สามพันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และคาดการณ์ว่าจะโตขึ้นถึง 7–8 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2020[3] ในปี 2014 มีผู้ป่วยต่างชาติ 184,298 รายเข้ามาในประเทศอินเดียเพื่อเข้ารับการรักษา[4]
ในปี 2017 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 10 ล้านคนเดินทางเข้ามาในอินเดีย เทียบกับจำนวน 8.89 ล้านคนในปี 2016 หรือคิดเป็นการเติบโต 15.6%[5][6][7] ในขณะที่นักท่องเที่ยวภายในประเทศเดินทางไปตามรัฐและยูทีต่าง ๆ อยู่ที่ 1,036.35 ล้านคนในปี 2012 เติบโตขึ้น 16.5% จากปี 2011[8] ในปี 2014 รัฐที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการท่องเที่ยวคือรัฐทมิฬนาฑู, รัฐมหาราษฏระ และรัฐอุตตรประเทศ[9] และมีเมืองเดลี, มุมไบ, เจนไน, อัคระ และไชปุระ เป็นเมืองที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามามากที่สุดห้าอันดับของประเทศ ในปี 2015 นอกจากนี้ในระดับโลก เมืองเดลี อยู่อันดับที่ 28 ขำองจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้า ตามด้วย มุมไบ ที่อันดับ 30, เจนไน ที่อันดับ 43, อัคระ ที่อันดับ 45, ไชปุระ ที่อันดับ 52 และ โกลกาตา ที่อันดับ 90 ของโลก[10] โดยมีกระทรวงการท่องเที่ยวเป็นหน่วยงานรัฐบาลที่กำหนดและดำเนินนโยบายพัฒนาการท่องเที่ยว ภายใต้แคมเปญ อินเคร็ดดิเบิล อินเดีย (Incredible India)
สถิติ
นักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้า
นักท่องเที่ยวขาเข้าประเทศอินเดีย (1997–2018)[11]
ปี |
จำนวนขาเข้า (ล้าน) |
% เปลี่ยนแปลง
|
1997 |
2.37 |
3.8
|
1998 |
2.36 |
−0.7
|
1999 |
2.48 |
5.2
|
2000 |
2.65 |
6.7
|
2001 |
2.54 |
−4.2
|
2002
|
2.38
|
−6.0
|
2003
|
2.73
|
14.3
|
2004
|
3.46
|
26.8
|
2005
|
3.92
|
13.3
|
2006
|
4.45
|
13.5
|
2007
|
5.08
|
14.3
|
2008
|
5.28
|
4.0
|
2009
|
5.17
|
−2.2
|
2010
|
5.78
|
11.8
|
2011
|
6.31
|
9.2
|
2012
|
6.58
|
4.3
|
2013
|
6.97
|
5.9
|
2014
|
7.68
|
10.2
|
2015
|
8.03
|
4.5
|
2016
|
8.80
|
9.7
|
2017
|
10.04
|
14.0
|
2018
|
10.56
|
5.2
|
|
รายได้จากการแลกเปลี่ยนกับชาวต่างชาติที่เข้ามาท่องเที่ยว (1997–2018)[11]
ปี |
รายได้ (พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ) |
% เปลี่ยนแปลง |
รายได้ (₹ crores) |
จำนวน % เปลี่ยนแปลง
|
1997 |
2,889 |
2.0 |
10,511 |
4.6
|
1998
|
2,948
|
2.0
|
12,150
|
15.6
|
1999
|
3,009
|
2.1
|
12,951
|
6.6
|
2000
|
3,460
|
15
|
15,626
|
20.7
|
2001
|
3,198
|
−7.6
|
15,083
|
−3.5
|
2002
|
3,103
|
−3.0
|
15,064
|
−0.1
|
2003
|
4,463
|
43.8
|
20,729
|
37.6
|
2004
|
6,170
|
38.2
|
27,944
|
34.8
|
2005
|
7,493
|
21.4
|
33,123
|
18.5
|
2006
|
8,634
|
15.2
|
39,025
|
17.8
|
2007
|
10,729
|
24.3
|
44,360
|
13.7
|
2008
|
11,832
|
10.3
|
51,294
|
15.6
|
2009
|
11,136
|
−5.9
|
53,700
|
4.7
|
2010
|
14,193
|
27.5
|
64,889
|
20.8
|
2011
|
16,564
|
16.7
|
77,591
|
19.6
|
2012
|
17,737
|
7.1
|
94,487
|
21.8
|
2013
|
18,445
|
4.0
|
107,671
|
14
|
2014
|
20,236
|
9.7
|
123,320
|
14.5
|
2015
|
21,071
|
4.1
|
135,193
|
8.8
|
2016
|
22,923
|
9.1
|
154,146
|
14.3
|
2017
|
27,310
|
19.1
|
177,874
|
15.4
|
2018
|
28,585
|
4.7
|
194,882
|
9.6
|
|
นักท่องเที่ยวขาเข้าแบ่งตามประเทศ
ประเทศต้นทางของนักท่องเที่ยวต่างชาติขาเข้าในปี 2018[11]
อันดับที่ |
ประเทศ |
จำนวน |
อัตราส่วน (%)
|
1 |
บังกลาเทศ |
2,256,675 |
21.37
|
2 |
สหรัฐอเมริกา |
1,456,678 |
13.80
|
3 |
สหราชอาณาจักร |
1,029,758 |
9.75
|
4 |
ศรีลังกา |
353,684 |
3.35
|
5 |
แคนาดา |
351,040 |
3.32
|
6 |
ออสเตรเลีย |
346,486 |
3.28
|
7 |
มาเลเซีย |
319,172 |
3.02
|
8 |
จีน |
281,768 |
2.67
|
9 |
เยอรมนี |
274,087 |
2.60
|
10 |
รัสเซีย |
262,309 |
2.48
|
รวม (10 ประเทศข้างต้น) |
6,931,657 |
65.65
|
รวม (ประเทศอื่น ๆ) |
3,626,272 |
34.35
|
รวมทั้งหมด |
10,557,929 |
100
|
อ้างอิง
- ↑ "2019 ANNUAL RESEARCH: KEY HIGHLIGHTS" (PDF). WTTC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-30. สืบค้นเมื่อ 15 March 2019.
- ↑ "Travel & Tourism Economic Impact 2018 India" (PDF). World Travel and Tourism Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 March 2017.
- ↑ "Indian medical tourism industry to touch $8 billion by 2020: Grant Thornton – The Economic Times". The Economic Times. สืบค้นเมื่อ 16 April 2016.
- ↑ "Promotion of Medical Tourism". Press Information Bureau. สืบค้นเมื่อ 28 April 2016.
- ↑ Sanjay Kumar (15 January 2018). "15.2% Growth in Foreign Tourist Arrivals in December, 2017 Over December, 2016; 48.3% Growth in Foreign Tourist Arrivals on e-Tourist visa in December, 2017 Over December, 2016". Press Information Bureau, Government of India, Ministry of Tourism. สืบค้นเมื่อ 7 March 2018.
- ↑ Team, BS Web (17 January 2018). "India attracted 10 mn foreign tourists in 2017, sports to bring more". Business Standard India. สืบค้นเมื่อ 11 February 2018.
- ↑ "Performance of Tourism Sector during December, 2016" (PDF). Ministry of Tourism. สืบค้นเมื่อ 28 February 2017.
- ↑ "India's Domestic Tourists increase by 16% crossing 1 Billion Mark". news.biharprabha.com. Indo-Asian News Service. สืบค้นเมื่อ 21 February 2014.
- ↑ "Tamil Nadu, UP pip Goa as tourist havens".
- ↑ Bremner, Caroline. "Top 100 City Destinations Ranking" (PDF). Euromonitor International. สืบค้นเมื่อ 30 January 2017.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 "India Tourism Statistics at a Glance" (PDF). Ministry of Tourism. สืบค้นเมื่อ 24 January 2020.
|