Share to:

 

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน669,312
ผู้ใช้สิทธิ50.85%
  First party Second party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 9 0
ที่นั่งที่ชนะ 9 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช, อำเภอท่าศาลา, อำเภอสิชล และอำเภอขนอม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรินทร์ พิศสุวรรณ (2) 78,175
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ ทองสมัคร (1)* 76,799
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ วิชัยกุล (3)* 73,689
กิจสังคม วิโชติ เกตุชาติ (4) 41,422
กิจสังคม ปราโมทย์ มะหมัด (5) 32,713
กิจสังคม นคร สุวรรณเดช (6) 30,250
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) โสภณ วัชรสินธุ์ (7)✔ 6,777
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ดนัย ลิมปดนัย (8) 4,679
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สำคัญ ณ นคร (9) 4,245
พลังใหม่ ไพบูลย์ ทองใหญ่ (14) 1,738
พลังใหม่ ประมูล สัจจวิเศษ (13) 894
พลังใหม่ พรศรี เพ็งจันทร์ (15) 803
แรงงานประชาธิปไตย สมชัย ทองดี (12) 350
แรงงานประชาธิปไตย สมพร ทองดี (10) 350
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สุพันธ์ จิระวงศ์ (16) 333
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อรุณ ถาวรมาศ (18) 228
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วิรุฬห์ รัตนะ (17) 182
แรงงานประชาธิปไตย ทวี กาจิริต (11) 178
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอทุ่งสง, อำเภอลานสกา, อำเภอพรหมคีรี, อำเภอฉวาง, อำเภอทุ่งใหญ่, อำเภอพิปูน, อำเภอนาบอน และกิ่งอำเภอบางขัน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุพัตรา มาศดิตถ์ (9)* 68,825
ประชาธิปัตย์ ถวิล ไพรสณฑ์ (7)* 66,072
ประชาธิปัตย์ บุญส่ง ชำนาญกิจ (8)* 61,307
กิจสังคม นิยม คำแหง (10)✔ 35,120
กิจสังคม วันชัย สุวรรณวิหค (11) 20,497
กิจสังคม กิตติ เจริญพานิช (12) 17,534
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บุญเจือ รัตนพันธ์ (16) 6,858
ประชากรไทย เลียบ ทองเนื้อห้า (2) 5,648
ประชากรไทย วิชา เลิศไกร (3) 5,047
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ศักดิ์ชาย ไกรสิทธิ์ (6) 4,234
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประนอม ทองแป้น (15) 4,023
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วัฒนชัย บุญจันทร์ (4) 3,889
ประชากรไทย จำนงค์ จิตต์สักคุณา (1) 3,509
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สงกรานต์ ผกากรอง (18) 3,056
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประโชติ สิริวัฒน์ (17) 2,999
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ร้อยตำรวจเอก สมหมาย ไชยเทพ (5) 2,985
พลังใหม่ ศรีสิทธิ์ ศรีเปารยะ (27) 1,209
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เจริญ จิตตารมย์ (13) 1,004
พลังใหม่ ขันตินันท์ พันธ์นิตย์ (26) 904
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อาจินต์ พาหุบุตร (14) 831
มวลชน หวิด เพ็ชราการ (30) 773
แรงงานประชาธิปไตย วิลาศ จงจิตร (22) 760
รักไทย พิศิษฐ์ ชูลี (19) 485
พลังใหม่ ประยูร มาศบำรุง (25) 472
แรงงานประชาธิปไตย สมภาศ สุวรรณมณี (23) 396
มวลชน ไพรัช จันทร์อุดม (28) 393
มวลชน สุชาติ ไทยเกื้อ (29) 370
รักไทย ดำรงศักดิ์ อุปลา (21) 248
แรงงานประชาธิปไตย ศิริมาศ สุวรรณสังข์ (24) 223
รักไทย สุรินทร์ ดีหนู (20) 216
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปากพนัง, อำเภอร่อนพิบูลย์, อำเภอหัวไทร, อำเภอเชียรใหญ่ และอำเภอชะอวด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครศรีธรรมราช
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ นุ่นทอง (16)* 40,755
ประชาธิปัตย์ ธงชาติ รัตนวิชา (17)* 40,095
ประชาธิปัตย์ สัมพันธ์ แป้นพัฒน์ (18)* 39,035
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ (7)✔ 35,293
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิทยา แก้วภราดัย (8) 19,466
กิจสังคม นิวัตร จินตวร (4)✔ 14,447
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิพัฒน์ศร เศรษฐพูธ์ (9) 12,293
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิชัย จันทพันธ์ (2) 11,788
กิจสังคม เทพปกรณ์ เดชา (5) 10,350
กิจสังคม สมบูรณ์ หนูทับ (6) 8,687
ชาติไทย จำลอง พลเดช (10) 8,255
ชาติไทย พลตำรวจตรี สุคนธ์ วราภรณ์ (11) 7,602
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เกษม จันทวิโรจน์ (3) 6,741
กิจประชาคม คล่อง รักษ์ทอง (25)✔ 5,846
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ศุภชัย เจียมสกุล (1) 3,982
ชาติไทย ร้อยตำรวจโท จรัญ ธานีรัตน์ (12) 3,719
ชาติประชาธิปไตย ชวลิต ชัยชาญ (15) 1,916
กิจประชาคม ลาภ โปจุ้ย (26) 1,647
กิจประชาคม พีระพงศ์ เดชพันธ์ (27) 1,364
ชาติประชาธิปไตย เจริญ มีเสน (14) 1,316
ชาติประชาธิปไตย เชื้อ ญาณรัตน์ (13) 1,261
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) แช่ม ชูเมือง (34) 1,011
สหประชาธิปไตย กำพล จรุงวาสน์ (19) 899
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เบญจขันธ์ พรหมเดชะ (36) 671
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วนารี บุญเชิด (35) 578
รักไทย อำนวย หนูจ้อย (28) 477
มวลชน สุธรรม บัวซัง (24) 415
มวลชน อาวุธ สินทอง (23) 320
สหประชาธิปไตย ไพบูลย์ คูทอง (20) 307
มวลชน ไพศาล เพ็ชรช่วย (22) 223
สหประชาธิปไตย ปุริ กล่อมจิตต์ (21) 194
พลังใหม่ ธีระนันท์ เรืองจรัส (33) 178
พลังใหม่ นิจ เพชรสุทธิ์ (32) 158
รักไทย สุธา ฉุ้นแต้ว (29) 126
พลังใหม่ อุดมศักดิ์ รัตนะ (31) 102
รักไทย สุทธิชัย จันทร์พุ่ม (30) 93
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530
Kembali kehalaman sebelumnya