Share to:

 

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน808,717
ผู้ใช้สิทธิ61.16%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พิชัย รัตตกุล
พรรค สหประชาธิปไตย กิจสังคม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 6 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง4 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค ชาติไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี และอำเภอดอยสะเก็ด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม สุบิน ปิ่นขยัน (4)* 54,452
ประชาธิปัตย์ จำรูญ ไชยลังการณ์ (10) 52,068
ชาติไทย สุรพันธ์ ชินวัตร (7)* 44,832
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (13) 42,963
ประชาธิปัตย์ วงศ์สว่าง กาญจนกามล (12) 36,302
ประชาธิปัตย์ เคน สันติธรรม (11) 35,704
ชาติไทย ณรงค์ นิยมไทย (9) 25,712
ชาติไทย เยาวลักษณ์ ชินวัตร (8) 20,517
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ปรีดา พัฒนถาบุตร (22)* 19,377
กิจสังคม สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล (5) 12,878
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชลอ เจษฎาพันธ์ (24) 7,696
กิจสังคม เฉลิมพงศ์ ศรีสง่า (6) 7,040
ประชากรไทย สุทธิรักษ์ ศรีตระกูลมงคล (18) 4,068
ชาติประชาธิปไตย ประดิษฐ วิชัยดิษฐ (1) 3,369
ชาติประชาธิปไตย บัวทอง เดือนโชติ (3) 3,129
ประชากรไทย อำไพพรรณ เบ็ญจสิริสรรค์ (17) 2,918
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เทเวศร์ ทะพงค์แก (23) 2,250
ประชากรไทย สุทิน อายุการ (16) 2,214
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ฟู อินทศักดิ์ (14) 2,186
ชาติประชาธิปไตย วิโรจน์ ประกอบกิจ (2) 2,075
สหประชาธิปไตย ประชายุทธ ศรัณยสิงห์ (20) 2,057
รักไทย ประเวทย์ ใจปัญญา (28) 1,211
สหประชาธิปไตย กมล อัมพวา (21) 1,118
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ทอง กันทา (15) 1,029
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พีระชัย ศุภมิตร (27) 788
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จุฑามาส พงค์ควาย (26) 740
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เมธี รัตนภิรมย์ (25) 674
รักไทย ทวีศักดิ์ กฤษณานนท์ (29) 408
รักไทย ประสาท มโนใจ (30) 398
สหประชาธิปไตย เริงฤทธิ์ เริงประเสริฐวิทย์ (19)[a]
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย และกิ่งอำเภอเวียงแหง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหประชาธิปไตย เจริญ เชาวน์ประยูร (13)* 101,480
สหประชาธิปไตย มานะ แพรสกุล (14)* 62,508
ประชาธิปัตย์ ไกรสร ตันติพงศ์ (4)* 60,883
สหประชาธิปไตย จ่าสิบตำรวจ อุดม วรวัลย์ (15) 54,465
ประชาธิปัตย์ เฉลิม โชติกสวัสดิ์ (5) 44,463
ประชาธิปัตย์ ชุ่ม คำลือ (6) 39,765
ชาติไทย พันตำรวจเอก ธานี วีระเดชะ (1)✔ 28,507
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มอนอินทร์ รินคำ (22)✔ 27,835
ชาติไทย โชคชัย ภาวสุทธิการ (2) 18,256
ชาติไทย จ่าสิบตำรวจ คำตัน ไชยซาววงศ์ (3) 10,252
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ปรีชา ผ่องเจริญกุล (9) 9,309
ชาติประชาธิปไตย บุญยืน บุญเมย (12) 8,553
ชาติประชาธิปไตย พันเอก เขียน ธรรมวาทิตย์ (11) 6,764
รวมไทย (พ.ศ. 2529) มาลัย สุดารัตน์ (7) 6,391
ชาติประชาธิปไตย บุญส่ง พ่วงพิพัฒน์ (10) 5,808
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันโท วีรชน ชมภูรัตน์ (23) 5,617
ประชากรไทย ประเสริฐ อรุณฤกษ์ (16) 3,686
รวมไทย (พ.ศ. 2529) นิวัติ ตุวานนท์ (8) 3,186
กิจประชาคม สถาพร อัจฉราคำ (19) 2,990
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ปวีณญู ศิริประยงค์ (24) 2,185
ประชากรไทย วิจิตร เขมาธร (17) 2,070
ประชากรไทย เลอพงศ์ มั่งประสิทธิ์ (18) 1,781
กิจประชาคม วิโรจน์ ศิริธนะ (21) 1,406
กิจประชาคม อดิศักดิ์ กาวิโล (20) 1,335
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อินสอน เทพมงคล (25) 1,298
รักไทย บัญชา รัตนไชย (30) 879
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) บุญนาค ปันต๊ะ (26) 624
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมเดช ปัญญาเจริญ (27) 479
รักไทย นิคม มะลิวัลย์ (29) 412
รักไทย แสน เรือนคำศรี (28) 290
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย, และอำเภอดอยเต่า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม อำนวย ยศสุข (1)* 70,162
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ส่งสุข ภัคเกษม (9)✔ 63,474
สหประชาธิปไตย ชาญชัย ไพรัชกุล (5) 56,595
กิจสังคม วารินทร์ ลิ้มศักดากุล (3) 55,512
สหประชาธิปไตย สยม รามสูต (4)* 50,855
กิจสังคม ทองหยด จิตตวีระ (2)✔ 44,340
ประชาธิปัตย์ บัญชา แดงขาวเขียว (10) 37,474
สหประชาธิปไตย สมเดช สมบูรณ์ (6) 6,127
ประชาธิปัตย์ อินผล บุญรอด (11) 4,065
ชาติไทย ศรีมุกข์ ติลผานันท์ (13) 2,446
ประชาธิปัตย์ เสนี จันทรส (12) 2,342
ชาติไทย ปัญญา พรหมเสนใจ (14) 1,964
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพโรจน์ อาษากิจ (8) 1,592
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จรูญ บุญเทียม (20) 1,335
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มิติ พันธ์ศรี (7) 1,301
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประจักษ์ ตรีเนตร (19) 1,052
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ณรงค์ ตรีเนตร (21) 1,038
ชาติไทย วีรวัฒน์ คำแล (15) 765
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วิรัตน์ ปัญญาทิพยฺ์รัตน์ (22) 740
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมสกุล ศิริปัญญา (23) 737
รักไทย เกร็ดดาว แก้วประพาฬ (26) 731
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อุทัย ไพบูลย์ (24) 615
ประชากรไทย สมชาย สิริฤกษ์ดี (18) 586
ประชากรไทย ขจรศักดิ์ มีสุวรรณ (16) 547
รักไทย มารยาท นโนใจ (25) 509
ประชากรไทย อดุลย์ เจริญนาค (17) 458
รักไทย ชูศรี กิติราช (27) 216
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สหประชาธิปไตย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. เสียชีวิตก่อนวันเลือกตั้ง

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530
Kembali kehalaman sebelumnya