Share to:

 

ปาเล็มบัง

ปาเล็มบัง

Palembang
นครปาเล็มบัง
Kota Palembang
ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน:
สะพานอัมเปอรา, มัสยิดใหญ่แห่งปาเล็มบัง, เอลเอร์เต ปาเล็มบัง, อุทยานโบราณคดีอาณาจักรศรีวิชัย, พิพิธภัณฑ์สุลต่านมะฮ์มุด บาดารุดดินที่ 2, มัสยิดเจิ้งเหอ
ธงของปาเล็มบัง
ธง
ตราราชการของปาเล็มบัง
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
"ปาเล็มบัง สะอาด ปลอดภัย เรียบร้อย สวยงาม" (Palembang Bersih, Aman, Rapi, Indah)
ที่ตั้งในจังหวัดสุมาตราใต้
ปาเล็มบังตั้งอยู่ในเกาะสุมาตรา
ปาเล็มบัง
ปาเล็มบัง
ที่ตั้งในสุมาตราและอินโดนีเซีย
ปาเล็มบังตั้งอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย
ปาเล็มบัง
ปาเล็มบัง
ปาเล็มบัง (ประเทศอินโดนีเซีย)
พิกัด: 2°59′10″S 104°45′20″E / 2.98611°S 104.75556°E / -2.98611; 104.75556
ประเทศ อินโดนีเซีย
จังหวัด จังหวัดสุมาตราใต้
ก่อตั้ง16 มิถุนายน ค.ศ. 683
(จารึกเกอดูกันบูกิต)
สถานะเมืองในอินโดนีเซีย1 เมษายน ค.ศ. 1906
(ราชกิจจานุเบกษา 1906:126)
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีฮาร์โนโจโย (ประชาธิปัตย์)
 • รองนายกเทศมนตรีฟีตรียันตี อากุซตินดา
พื้นที่
 • ทั้งหมด400.61 ตร.กม. (154.68 ตร.ไมล์)
ความสูง8 เมตร (26 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนประชากร ค.ศ. 2020)
 • ทั้งหมด1,668,848 คน
ข้อมูลประชากร
 • กลุ่มชาติพันธุ์[1]
 • ศาสนา[2]อิสลาม 92.53%
พุทธ 3.67%
โปรเตสแตนต์ 2.23%
คาทอลิก 1.49%
ฮินดู 0.06%[3]
เขตเวลาUTC+7 (เวลาตะวันตกของอินโดนีเซีย)
รหัสไปรษณีย์301xx, 302xx
โทรศัพท์(+62) 711
เว็บไซต์palembang.go.id

ปาเล็มบัง (อินโดนีเซีย: Palembang) เป็นเมืองหลักของจังหวัดสุมาตราใต้ ทางฝั่งตะวันออกทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่บนที่ราบริมแม่น้ำมูซี มีพื้นที่ 400.61 ตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ 1.44 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของเกาะสุมาตรา รองจากนครเมดันซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ปาเล็มบังได้รับคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในสองเมืองหลักที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันซีเกมส์ครั้งที่ 26 ระหว่างวันที่ 11 ถึง 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ร่วมกับจาการ์ตา

ปาเล็มบังเป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยเป็นเมืองหลวงเก่าของอาณาจักรศรีวิชัย

อ้างอิง

  1. Indonesia's Population: Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape. Institute of Southeast Asian Studies. 2003.
  2. "Data Sensus Penduduk 2010". Badan Pusat Statistik Republik Indonesia
  3. "Population by Religion in Palembang" (PDF). BPS. 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya