Share to:

 

พรรคการเมืองปฏิรูป

พรรคการเมืองปฏิรูป
Staatkundig Gereformeerde Partij
ชื่อย่อSGP
ประธานอาดริ ฟัน เฮเตอเริน
หัวหน้าเกส ฟัน แดร์ สตาย
เลขาธิการเปเตอร์ เซเฟินแบร์เคิน
ผู้นำในวุฒิสภาเปเตอร์ สคัลก์
ผู้นำในสภาผู้แทนราษฎรเกส ฟัน แดร์ สตาย
ผู้นำในรัฐสภายุโรปแบร์ต-ยัน เราส์เซิน
ก่อตั้ง24 เมษายน ค.ศ. 1918
แยกจากพรรคต่อต้านการปฏิวัติ
ที่ทำการBurgemeester van Reenensingel 101 เคาดา
ฝ่ายเยาวชนเยาวชนพรรคการเมืองปฏิรูป
สมาชิกภาพ  (ปี 2020)ลดลง 29,655 คน[1]
อุดมการณ์คริสเตียนฝ่ายขวา[2]
อนุรักษ์นิยมสังคม[2]
เทวาธิปไตย[3][4][5][6]
ต่อต้านสหภาพยุโรป[7]
จุดยืนฝ่ายขวา[8][9][10]
ศาสนาลัทธิคาลวิน
โปรเตสแตนต์[11]
สีน้ำเงินและส้ม
สภาผู้แทนราษฎร
3 / 150
วุฒิสภา
2 / 75
สภาจังหวัด
14 / 570
รัฐสภายุโรป
1 / 29
ข้าหลวงในพระมหากษัตริย์
0 / 12
เว็บไซต์
www.sgp.nl
การเมืองเนเธอร์แลนด์
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

พรรคการเมืองปฏิรูป (ดัตช์: Staatkundig Gereformeerde Partij หรือย่อเป็น SGP) เป็นพรรคการเมืองที่นิยมลัทธิคาลวินออร์ทอดอกซ์ในประเทศเนเธอร์แลนด์[12] คำว่าปฏิรูปนี้ไม่ได้หมายถึงการปฏิรูปการเมือง แต่เป็นคำที่มีความหมายเดียวกับลัทธิคาลวินซึ่งเป็นสาขาหลักของนิกายโปรเตสแตนต์ในศาสนาคริสต์ พรรคนี้เป็นหนึ่งในพรรคการเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในเนเธอร์แลนด์ ปัจจุบันเป็นเป็นพรรคฝ่ายค้านที่มีอุดมการณ์ทางออร์ทอดอกซ์

อ้างอิง

  1. "Forum voor Democratie qua ledental de grootste partij van Nederland" (PDF). Documentatiecentrum Nederlandse Politieke Partijen (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 27 January 2020.
  2. 2.0 2.1 Nordsieck, Wolfram (2017). "Netherlands". Parties and Elections in Europe. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
  3. Wijbrandt van van Schuur; Gerrit Voerman (2010). "Democracy in Retreat? Decline in Political Party Membership: The Case of the Netherlands". ใน Barbara Wejnert (บ.ก.). Democratic Paths and Trends. Emerald. p. 29. ISBN 978-0-85724-091-0. สืบค้นเมื่อ 20 August 2012.
  4. Jean-Yves Camus (2013). "The european extreme right and religious extremism". ใน Andrea Mammone; Emmanuel Godin; Brian Jenkins (บ.ก.). Varieties of Right-Wing Extremism in Europe. Routledge. p. 111. ISBN 978-1-136-16751-5.
  5. Brent F. Nelsen; James L. Guth. Religion and the Struggle for European Union: Confessional Culture and the Limits of Integration. Georgetown University Press. p. 312. ISBN 978-1-62616-070-5.
  6. Christoph Jedan (2013). "Overcoming the divide between religious and secular values: Introductory essay". ใน Christoph Jedan (บ.ก.). Constellations of Value: European Perspectives on the Intersections of Religion, Politics and Society. LIT Verlag Münster. p. 14. ISBN 978-3-643-90083-8.
  7. Benjamin LeRuth; Yordan Kutiyski; André Krouwel; Nicholas J Startin (2017). "Does the Information Source Matter? Newspaper Readership, Political Preferences and Attitudes Toward the EU in the UK, France and the Netherlands". ใน Manuela Caiani; Simona Guerra (บ.ก.). Euroscepticism, Democracy and the Media: Communicating Europe, Contesting Europe. Palgrave Macmillan UK. p. 105. ISBN 978-1-137-59643-7.
  8. Arthur S. Banks; Thomas C. Muller; William Overstreet; Sean M. Phelan; Hal Smith (2000). Political Handbook of the World 1999. Cq Pr. p. 696. ISBN 978-0-933199-14-9.
  9. Nicola Maggini (2016). Young People's Voting Behaviour in Europe: A Comparative Perspective. Palgrave Macmillan UK. p. 115. ISBN 978-1-137-59243-9.
  10. Voerman, Gerrit; Lucardie, Paul (July 1992). "The extreme right in the Netherlands. The centrists and their radical rivals". European Journal of Political Research. 22 (1): 36, 51. doi:10.1111/j.1475-6765.1992.tb00304.x.
  11. Amir Abedi (2004). Anti-political Establishment Parties: A Comparative Analysis. Psychology Press. p. 62. ISBN 978-0-415-31961-4.
  12. แหล่งข้อมูลต่อไปนี้รวบรวมสื่อที่แสดงว่าพรรคการเมืองปฏิรูปเป็นพรรคการเมืองที่นิยมลัทธิคาลวิน:
Kembali kehalaman sebelumnya